Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชโยดม สรรพศรี-
dc.contributor.authorนฤชิต วิมิตตะนันทกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-10T07:48:26Z-
dc.date.available2020-11-10T07:48:26Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746392646-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69289-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงการลงมหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการปล่อยเสรีทางการเงินที่มีตออุปสงค์ของ เงินในประเทศไทย โดยมีเป้าหมายประการแรกในการมุ่งเน้นที่จะทดสอบเสถียรภาพของอุปสงค์ของเงินในระยะสั้นและระยะยาว ในช่วงเวลาก่อนและหลังการปล่อยเสรีทางการเงิน ประการที่สองเพื่อศึกษาถึงฃบวนการปรับตัวของอุปสงค์ของเงินในระยะสั้นเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาว และประการสุดท้ายเพื่อศึกษาถึงความเหมาะสมของการเลือกใช้ตัวแปรปริมาณเงินเป็นเป้าหมายทางการเงินหลังการปล่อยเสรีทางการเงิน จากการศึกษาพบว่า ฟังก์ชันอุปสงค์ของเงินทั้งในความหมายแคบและในความหมายกว้าง มีคุณสมบัติ Cointegration ของความสัมพันธ์กับปัจจัยกำหนดต่างๆ เช่น ระดับรายได้ อัตราดอกเบี้ย นวัตกรรมทางการเงิน อัตรา ผลตอบแทนที่คาดการณ์ของสินทรัพย์ในตลาดหสักทรัพย์ และอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการมีความ สัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพในระยะยาวต่อกัน แต่อย่างใรก็ตามพบว่า อุปสงค์ของเงินในความหมายแคบได้รับผลกระทบจากมาตรการต่าง ๆ ในการปล่อยเสรีทางการเงินมากกว่าอุปสงค์ของเงินในความหมายกว้าง โคยอุปสงค์ของเงินในความหมาย แคบมีความอ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี้ย และผลตอบแทนที่คาดการณ์จากการลงทุนในตลาดหสักทรัพย์มากขึ้น นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบ Cointegration กับ ECM ระหว่างอุปสงค์ของเงินในความหมายแคบและในความหมายกว้าง ชี้ให้เห็นว่า อุปสงค์ของเงินในความหมายกว้างมีเสถียรภาพมากกว่าอุปสงค์ของเงินในความหมายแคบ จากผลการศึกษาดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ปริมาณเงินในความหมายกว้างมีความเหมาะสมมากกว่า ปริมาณเงินในความหมายแคบในการนำมาใช้เป็นเป้าหมายทางการเงิน โดยการเปรียบเทียบระหวางการเลือกใช้นโยบาย อัตราดอกเบี้ยเป็นเป้าหมายทางการเงิน และการเลือกใช้ปริมาณเงินเป็นเป้าหมายทางการเงิน ได้แสดงให้เห็นว่าในการดำเนินนโยบายการรักษาเสถียรภาพรองระบบเศรษฐกิจ ปริมาณเงินในความหมายกว้างจะเป็นเป้าหมายทางการเงินที่มีประสิทธิ์ภาพมากกว่าเป้าหมายทางดอกเบี้ย-
dc.description.abstractalternativeThis study aims to explore the effects of financial liberalization on demand for money in Thailand. The first objective focuses on the stability in the short run and the long run of money demand before and after the period of financial liberalization. The second goal is to study the error correction process from the short run adjustment of real money stock to its long run equilibrium. The last point is to find out whether the monetary aggregate is still appropriate to be used as monetary target after the period of liberalization. The study finds that both narrow and broad money demand functions have cointegration with its determinants, such as income, interest rate, financial innovation, expected rate of return of assets in stock market and foreign interest rate, which show they have long run relationship. However, the results find that the demand for narrow money is affected by measures of financial liberalization more than the broad money demand. The demand for narrow money is more sensitive with interest rate and the expected rate of return from investment in stock market. Moreover, a comparison of the cointegration and ECM result for narrow and broad money demand indicates that the broad money have been relatively more stable than narrow money. The finding can be concluded that the broad money is more appropriate than narrow money to be used as an monetary target. The comparison between interest rate target policy and monetary target policy shows that in order to stabilize the economy, broad monetary target is more efficient than the interest rate target.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความต้องการถือเงิน -- ไทยen_US
dc.subjectการเงิน -- ไทยen_US
dc.subjectตลาดเงินen_US
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์en_US
dc.subjectทุนสำรองระหว่างประเทศen_US
dc.subjectDemand for money -- Thailanden_US
dc.subjectFinance -- Thailanden_US
dc.subjectMoney marketen_US
dc.subjectStock exchangesen_US
dc.titleการวิเคราะห์อุปสงค์ต่อเงินในประเทศไทย : ศึกษาผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการเงินen_US
dc.title.alternativeAn analysis of money demand in Thailand : impacts financial liberalizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naruechit_wi_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ470.91 kBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch1.pdfบทที่ 1727.8 kBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch2.pdfบทที่ 21.86 MBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch3.pdfบทที่ 3868.32 kBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch4.pdfบทที่ 41.7 MBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch5.pdfบทที่ 51.79 MBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_ch6.pdfบทที่ 6827.4 kBAdobe PDFView/Open
Naruechit_wi_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก866.95 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.