Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69391
Title: Responsiveness of the Thai version of the Patient Reported Outcomes Measurement Information System-29 (PROMIS-29) in patients with chronic low back pain
Other Titles: การตอบสนองของแบบประเมิน Patient Reported Outcomes Measurement Information System-29 (PROMIS-29) ฉบับภาษาไทย ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง
Authors: Kornkanok Khutok
Advisors: Rotsalai Kanlayanaphotporn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Science
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Backache -- Psychological testing
ปวดหลัง -- การทดสอบทางจิตวิทยา
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Background: The Patient-Reported Outcomes Measurement Information System-29 (PROMIS-29) questionnaire assesses 7 health related quality of life domains. However, research to evaluate the responsiveness and minimal clinically important differences (MCIDs) of the PROMIS-29 scores in patients with chronic low back pain (cLBP) is limited. Purpose: To evaluate responsiveness and estimate the MCIDs for PROMIS-29 scales in patients with cLBP. Method: One hundred and eighty-three participants with cLBP took part in the study. They completed the PROMIS-29 scales at baseline, 4 weeks, and 8 weeks of the study. Responsiveness of the PROMIS-29 scale scores was evaluated by examining the mean change scores, effect sizes (ESs), standardized response means (SRMs) based on the global perceived effect (GPE) over time, including correlations with GPE. MCIDs were estimated by computing optimal cut point on the receiver operating characteristic curve and standard error of measurement (SEM) statistics for each scale. Results: The mean change scores, ESs, and SRMs increased as a function of the GPE ratings. At 4-week follow-up, the ESs and SRMs showed large magnitudes (ESs and SRMs ≥ 0.80) for Pain Intensity, Physical Function, and Anxiety scales in very much improved group. The correlations between change scores and GPE ratings were mostly weak in magnitude at 4 and 8 weeks. The MCID estimates computed as Pain Intensity 1.50 points; Physical function 3.60 points; Anxiety 5.88 points; Depression 5.25 points; Fatigue 7.75 points; Sleep Interference 3.90 points; Ability to Participate in Social Roles and Activities 4.58 points; and Pain Interference 4.85 points. Conclusion: The PROMIS-29 scale scores assessing pain intensity, physical function, and anxiety evidenced the most responsivity in the study sample.
Other Abstract: ที่มา: แบบประเมิน Patient-Reported Outcomes Measurement Information System-29 (PROMIS-29) เป็นแบบประเมินที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต 7 ด้าน ในปัจจุบันยังขาดหลักฐานงานวิจัยในเรื่องการตอบสนองของแบบประเมิน PROMIS-29 และค่าความแตกต่างที่เกิดขึ้นที่น้อยที่สุดที่สามารถแสดงนัยสำคัญทางคลินิกในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาค่าการตอบสนองและค่าความแตกต่างที่น้อยที่สุดที่สามารถแสดงนัยสำคัญทางคลินิกของแบบประเมิน PROMIS-29 ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ระเบียบวิธีวิจัย: ผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจำนวน 183 คน ตอบแบบประเมินที่จุดเริ่มต้น และที่ 4 และ 8 สัปดาห์ การคำนวณหาค่าการตอบสนองของแบบประเมิน PROMIS-29 โดยใช้การคำนวณค่าเฉลี่ยของคะแนนที่เปลี่ยนแปลง สถิติค่า effect sizes (ESs)  ค่า standardized response means (SRMs) และค่าความสัมพันธ์กับตัวแปรภายนอก นอกจากนี้ค่าความแตกต่างที่น้อยที่สุดที่สามารถแสดงนัยสำคัญทางคลินิกถูกทดสอบโดยการหาจุดตัดพื้นที่ใต้กราฟ receiver operating characteristic อีกทั้งระบุค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัดของแบบประเมิน PROMIS-29 ผลการศึกษา: ที่ 4 สัปดาห์ในกลุ่มผู้ที่มีอาการดีขึ้นอย่างมาก พบการตอบสนองที่ดีของแบบประเมิน PROMIS-29 ในด้านความรุนแรงของอาการปวด ความสามารถทางกายภาพและด้านความวิตกกังวล (ESs and SRMs ≥ 0.80) แต่อย่างไรก็ตาม ค่าความสัมพันธ์ระหว่างแบบประเมิน PROMIS-29 แลุะตัวแปรภายนอกอยู่ในระดับน้อย (r < 0.30) ทั้งที่ 4 และ 8 สัปดาห์ ค่าความแตกต่างที่เกิดขึ้นที่น้อยที่สุดที่สามารถแสดงนัยสำคัญทางคลินิกของแบบประเมิน PROMIS-29 คือ ด้านความรุนแรงของอาการปวด 1.50 คะแนน ด้านความสามารถทางกายภาพ 3.60 คะแนน ด้านความวิตกกังวล 5.88 คะแนน ด้านภาวะซึมเศร้า 5.25 คะแนน ด้านความเหนื่อยล้า 7.75 คะแนน ด้านการรบกวนการนอนหลับ 3.90 คะแนน ด้านความสามารถในการมีบทบาทและเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม 4.58 คะแนน และด้านการรบกวนจากอาการปวด 4.85 คะแนน สรุป: แบบประเมิน PROMIS-29 มีการตอบสนองที่ดีมากในด้านของความรุนแรงของอาการปวด ความสามารถทางกายภาพและด้านความวิตกกังวลในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2019
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Physical Therapy
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69391
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.431
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.431
Type: Thesis
Appears in Collections:All - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6076651837.pdf4.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.