Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร ณ รังษี-
dc.contributor.advisorประทุม อังกูรโรหิต-
dc.contributor.authorนัยนา เกิดวิชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-23T08:31:25Z-
dc.date.available2020-11-23T08:31:25Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746341545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70906-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเรื่องบุญกับนิพพาน ในพุทธปรัชญาเถรวาท ในฐานะที่ต่างก็เป็นความคิดหนึ่งที่สำคัญมากในระบบปรัชญาเดียวกัน ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเรื่องวิธีการทำบุญ ตามหลักบุญกริยาวัตถุ อันได้แก่ ทาน ศีล ภาวนา เป็นความคิด พื้นฐานที่มาของความคิดจากมัชฌิมาปฏิปทา เช่นเดียวกับความคิดเรื่องวิธีปฏิบัติเพื่อเข้าถึงนิพพานอันได้แก่อริยมรรคมี องค์ 8 หรือไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ส่วนความคิดเรื่องการให้ผลของบุญซึ่งเน้นถึงการให้ผลที่เป็นความสุขทาง โรกียะในชาติปัจจุบัน และการให้ผลต่อการเกิดใหม่ในชาติหน้า ที่จะได้เกิดในสุคติเป็นมนุษย์หรือเทวดานั้น มิได้เป็นความคิดที่ขัดแย้งกับความคิดเรื่องนิพพานอันเป็นภาวะที่พ้นไปจากการเวียนว่ายตายเกิดแต่อย่างใด เพราะการอธิบาย ถึงการให้ผลของบุญนั้น พระพุทธศาสนาอธิบายคามหลักความจริงของกฎแห่งกรรมอันเป็นกฎธรรมชาติ กล่าวคือเมื่อผู้ปฏิบัติลงมือทำความดีได้ในระดับหนึ่ง ผลที่เกิดจากการทำความดีนั้นย่อมเกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติทั้งในด้านวัตถุและด้านจิตใจ อย่างไรก็ตามพระพุทธเจ้ามิได้สอนให้มนุษย์หยุดอยู่แค่การทำความดีในระดับบุญซึ่งเป็นโลกิยะเท่านั้น แต่ทรงเน้นให้ก้าวสู่ขั้นนิพพาน ด้วยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ซึ่งจะสามารถปฏิบัติได้ง่ายขึ้น หากมีบารมีที่ได้สั่งสมมาจากการทำบุญ เพราะฉะนั้นความคิดเรื่องการทำบุญและการให้ผลของบุญนั้น ในที่สุดแล้วจึงเป็นความคิดที่ส่งเสริมสนับสนุน และเป็นไปเพื่อความคิดเรื่องนิพพาน ดังนั้นการวิจัยเรื่องนี้จึงสรุปผลได้ว่า ความคิดเรื่องบุญกับนิพพาน มีความสัมพันธ์ที่ประสานสอดคล้องกลมกลืนกัน ไม่มีความคิดใดที่แยกอยู่ลอย ๆ หรืออยู่อย่างขัดแย้งกัน แด่เป็นความคิดที่ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างดีที่สุดในระบบพุทธปรัชญาเถรวาท-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research is to analyse the relationship between concepts of Merit and Nibbana in Theravada Philosophy, as both of them are the important concepts of the same system of thought. As a result the research has revealed that the concepts of Merit called the Bases of Meritorious Actions or Punnakiriyavatthu which consist of donation (dana), precept (sila) and mind development (bhavana) are derived from the concepts of the Middle Way as well as the way of practice leading to Nibbana called the Noble Eightfold Path which consist of morality (sila) Meditation (samadhi) and Wisdom (panna). The result of the Merit in the form of mundane happiness in the present life and a happy state of life in the future birth whether one is going to be born a human being or a celestial being, has no contradiction with the concept of Nibbana which is the freedom from the Round of Rebirth. Buddhism explains that the Law of Kamma is one fact of the law of nature. When one acts meritoriously, the desirable results will occure to him both physically and mentally. However, The Buddha does not only teach about the virture for mundane happiness, but also for Nibbana by taking a serious practice which becomes easier for one who has accumulated the meritorious actions in the past. This concept of meritorious actions or Purina has undoubtedly supported the concept of Nibbana. In conclusion, the relationship between the concepts of Merit and Nibbana are well-intergrated. None of them is an isolated or contradicted concept; they actually support each other in Theravada Philosophy.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนิพพานen_US
dc.subjectการปฏิบัติธรรมen_US
dc.subjectความดีen_US
dc.subjectพุทธปรัชญาen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเรื่องบุญกับนิพพานในพุทธปรัชญาเถรวาทen_US
dc.title.alternativeThe relationship between the concepts of merit and nibbana in theravada philosophyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineปรัชญาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naiyana_gi_front_p.pdf927.81 kBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_ch1_p.pdf708.17 kBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_ch2_p.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_ch3_p.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_ch4_p.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_ch5_p.pdf926.6 kBAdobe PDFView/Open
Naiyana_gi_back_p.pdf738.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.