Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71437
Title: การจำแนกลักษณะทางกายภาพของหินด้วยข้อมูลภาพดาวเทียมแอสเตอร์ด้วยเทคนิคการจำแนกเชิงหลักเกณฑ์ พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ระยอง
Other Titles: Lithological classified by aster data by rule-base classification technique a case study : Rayong area
Authors: ปณิตา คุโณปถัมภ์
Advisors: บรรเจิด พละการ
สุนทร พุ่มจันทร์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
Subjects: การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล
ศิลาวิทยา -- ไทย -- ระยอง
หิน -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล
ระยอง -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล
Remote-sensing images
Petrology -- Thailand -- Rayong
Rocks -- Remote sensing
Rayong -- Remote sensing
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การนำข้อมูลภาพดาวเทียม มาใช้จำแนกลักษณะทางกายภาพของหิน โดยใช้ค่าการสะท้อนพลังงานแต่เพียงอย่างเดียว หรือนำค่าการสะท้อนพลังงานมาหาค่าอัตราส่วนช่วงคลื่น มาใช้ในการจำแนกชนิดหินนั้น ให้ผลการจำแนกไม่ดีเพียงพอ เนื่องจากค่าการสะท้อนพลังงานไม่ใช่ค่าการสะท้อนพลังงานของหิน บริเวณนั้นแต่พียงอย่างเดียว แต่มีค่าการสะท้อนพลังงานของพืชรวมอยู่ตัวย จึงจำเป็นต้องนำข้อมูลอื่นมาประกอบการพิจารณาสำหรับเทคนิคการจำแนกเชิงหลักเกณฑ์ (Rue- Based Classification Techniques) เป็นการจำแนก โดยกำหนดหลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ขึ้นจากคุณสมบัติที่แตกต่างและเฉพาะเจาะจง ทั้งจากข้อมูลค่าการสะท้อนพลังน และข้อมูลประกอบอื่น เช่น ข้อมูลเส้นชั้นความสูง ข้อมูลวามลาดชัน ข้อมูลระยะห่างจาก ทางน้ำ ข้อมูลชนิดดิน ข้อมูลพืชปกคลุม เป็นต้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพาะของหินแต่ละชนิดงานวิจัยนี้จะแสดงการจำแนกข้อมูลภาพดาวเทียมแอสเตอร์ เพื่อจำแนกชนิดหินในพื้นที่จังหวัดระยอง ด้วยเทคนิคการจำแนกเชิงหลักเกณฑ์ ผลการศึกษาพบว่า การจำแนกข้อมูลภาพดาวทียมแอสเตอร์ด้วยเทคนิคการจำแนกเชิงหลักเกณฑ์ให้ผลการจำแนกมีความถูกต้องสูงถึง 75 % ในขณะที่การจำแนกแบบกำกับด้วยวิธี Maximum Likelihoodให้ผลการจำแนกเพียง 50 % โดยเงื่อนไขระดับความสูงภูมิประเทศ และความลาดชันของพื้นที่เป็นเงื่อนไข ที่สำคัญในการจำแนกเชิงหลักเกณฑ์ให้ได้ผลการจำแนกที่ดี.
Other Abstract: The use of satellite images to classify the lithological by using single source data eitherreflection of energy data or using band ratio to classify rock type is insufficient. Moreover, the resultof classification is not good enough due to reflection of energy is reflection of the whole area no just only rock but it also includes reflection energy from plant in that particular area. In order to get corrective reflection energy of rock, it is necessary to use this method incorporates with the other technique or multiple sources of data. Rule-Based Classification Technique is the technique that use to classify by establish the rule or condition of different property or specific property which includes reflection of energy data and the other data such as elevation contour, slope, distance from stream, type of soil, type of plant and etc. These data are specific property of each rock type. This research will present the Classification of Aster data to classify of lithological in Rayong province by using Rule - Based Classification Technique. The results of this study indicated that the overall accuracy of lighological classified by Rule- Base Classification about 75 percent. The classification of lithological using the supervised classification by maximum likelihood technique given results with the overall accuracy of 50 percent. In this study, it is founded that the most important conditions for the analysis are elevation and slope.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรม
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71437
ISBN: 9741422741
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panita_ku_front_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_ch1_p.pdf885.46 kBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_ch2_p.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_ch3_p.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_ch4_p.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_ch5_p.pdf718.74 kBAdobe PDFView/Open
Panita_ku_back_p.pdf679.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.