Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72016
Title: | Multivariable analysis in the prediction of death in hospital after spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage |
Other Titles: | การวิเคราะห์หลายตัวแปรเพื่อใช้ทำนายโอกาสการเสียชีวิต ในโรงพยาบาลของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองแตก |
Authors: | Samart Nidhinandana |
Advisors: | Chitr Sitthi-Amorn Niphon Poungvarin |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | [email protected] No information provided |
Subjects: | Multivariate analysis Brain -- Hemorrhage -- Mortality Cerebral hemorrhage Death การตาย -- พยากรณ์ หลอดเลือดสมองแตก -- อัตราตาย การวิเคราะห์ตัวแปรพหุ สมองเลือดออก |
Issue Date: | 1995 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The present research has the objective of proposing a prognostic model to predict death in hospital after spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage. Research design: Prospective descriptive study. Method The patients who were diagnosed supratentorial intracerebral hemorrhage by CT scan or MRI brain age between 41-87 years old were admitted during april to december 1994. Baseline characteristics, risk factors and predictive variables were recorded within 24 hours after admission. Result: The mortality rate of patient with spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage in this study was 42.4% and 91% of the diseased cases died within first week due to brain herniation. Univariate analysis comparing 11 baseline characteristics and 4 risk actors showed statistical significant difference in duration from onset to diagnosis (P = 0.033), Glasgow Coma Scale (P = 0.00004) volume of hematoma (P = 0.047), site of bleeding (P = 0.00412) and intraventricular hemorrhage (p = 0.00004). After stepwise logistic regression analysis adjusted among all variables, only 4 variables, Glasgow Coma scale (β = -0.2908) (P = 0.0039), intraventricular hemorrhage (β = -1.3922) (P = 0.0286). sex (β = -1.7214) (P = 0.0201), and volume more than 60 cm3 (β = 1.2209) (P = 0.005) were found to be potentially predictors of death in hospital after spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage. Hosmer-Lemeshow Chi-square for goodness of fit was 7.38 (with a degree of freedom of 8) (P = 0.4963), so the model fit the data quite well. Model sensitivity, specificity and accuracy were 75, 85.71 and 81.18k respectively. The area under the Receiver Operating Characteristic (ROC) curve was 0.8642. |
Other Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหารูปแบบของการทำนายการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกเหนือเทนทอเรี่ยม โดยการศึกษาไปข้างหน้าแบบพรรณา วิธีการวิจัย ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองแตกเหนือเทนทอเรี่ยมด้วย การทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองอายุตั้งแต่ 41-87 ปีจำนวน 85 ราย ถูกรับไว้ในโรงพยาบาลในระยะเวลา ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคม 2537. ลักษณะพื้นฐาน, ปัจจัยเสี่ยง และตัวแปรที่เป็นผลต่อการทำนายโรค เช่น ความดันโลหิต, ผลของปริมาณน้ำตาลในเลือด และลักษณะของลิ่มเลือดจากเอ็กชเรย์ใด้รับการบันทึกไว้ ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังรับไว้ในโรงพยาบาล ผลการศึกษา พบว่าอัตราตายในการศึกษานี้เป็น 42.4 % และ 91 % ของผู้ป่วยเหล่านี้เสียชีวิตใน 7 วันแรกซึ่งเกิดจากมีความดันในสมองสูงและเกิดการเคลื่อนของสมอง การวิเคราะห์ตัวแปรเกี่ยวจากข้อมูล แรกรับ 11 ข้อและประวัติเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง 4 ข้อ พบว่าตัวแปรที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการจนถึงได้รับการวินิจฉัย (พี = 0.033), คะแนนกลาสโคว์โคบ่า (พี = 0.00004), ปริมาณเลือดที่ออก (พี = 0.047), ตำแหน่งของเลือดออก (พี = 0.00412) และ มีเลือดเข้าไปในโพรงสมอง (พี = 0.00004) แต่จากการวิเคราะห์ตัวแปรหลาก โดยใช้วิธีวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกแบบพหุคูณ พบว่า มีตัวแปรเพียง 4 ตัวเท่านั้นที่มีความสำคัญ ได้แก่ คะแนนกลาสโคว์ (เบต้า = -.2908) (พี = 0.0039), มีเลือดเข้าไปในโพรงสมอง (เบต้า = -1.3922) (พี = 0.0286), เพส (เบต้า = -1.7214) (พี = 0.0201) และปริมาณเลือด ออกมากกว่า 60 ซม3 (เบต้า = 1.2209) (พี = 0.005) นำมาใช้ในรูปแบบการทำนาย และพบว่ามีความไว, ความจำเพาะและความถูกต้อง เท่ากับ 75,85.71 และ 81.18% ตามลำดับ ค่าไคสแควร์เพื่อทดสอบว่าตัวแปร มีความพอดีกับรูปแบบการทำนายโดยวิธีของโฮสเมอร์แลมชอร์เท่ากับ 7.38 โดยมีค่าชั้นความเป็นอิสระเท่ากับ 8 (ค่าพีเท่ากับ 0.4963) แสดงว่าตัวแปรดังกล่าวมีความพอดีกับรูปแบบการทำนาย นอกจากนี้ได้ทำการเขียนกราฟเพื่อคำนวณความไวและความจำเพาะของรูปแบบการทำนาย รวมทั้งคำนวณพื้นที่ใต้กราฟอาร์โอซีมีค่า เท่ากับ 0.8642 |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1995 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Development |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72016 |
ISBN: | 9746319736 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Samart_ni_front_p.pdf | 903.69 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch1_p.pdf | 780.68 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch2_p.pdf | 634.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch3_p.pdf | 704.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch4_p.pdf | 703.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch5_p.pdf | 707.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch6_p.pdf | 619.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch7_p.pdf | 907.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch8_p.pdf | 648.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_ch9_p.pdf | 604.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Samart_ni_back_p.pdf | 754.81 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.