Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72556
Title: Thai rice bran lipase-catalysed polyesterification : a development for practical applications
Other Titles: การใช้ไลเปสจากรำข้าวไทยในการสังเคราะห์พอลิเอสเทอร์ : การพัฒนาเพื่อใช้ในภาคปฏิบัติ
Authors: Nonsee Nimitsiriwat
Advisors: Suwabun Chirachanchai
Rath Pichyangkura
Ratana Rujiravanit
Erdogan,Gulari
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
[email protected]
No information provided
Subjects: Rice bran
Lipase
Polyesters
รำข้าว
ไลเปส
โพลิเอสเทอร์
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Two systems of Thai rice bran lipase (Thai RBL)-catalysed aliphatic polyester synthesis in toluene, i.e., adipic acid and 1,4-butanediol, and adipic acid and poly(ethylene glycol) MW. 200, were earned out at stoichiometric ratio. The degree of polymerization was found to be 4 and 9 in the former case and 2 and 6 in the latter case. The polymerization was accelerated by the reaction temperature at 80⁰ to 100 ℃ and long reaction time for over 7 days. Thai RBL was immobilized via physisorption and covalent bonding to improve enzyme activity. The physisorption of Thai RBL onto fumed silica was optimized at 1:40 for carrier:crude enzyme (g/mL) to give 38% immobilization with hydrolytic activity of 21 mU/mg. The covalent bonding of Thai RBL onto fumed silica was achieved at 50% immobilization with hydrolytic activity of 9 mU/mg. The utilization of purified enzyme to immobilize by physisorption and covalent bonding improved the hydrolytic activity for three times comparing to that of crude enzyme.
Other Abstract: การสังเคราะห์อะลิฟาติกพอลิเอสเทอร์โดยใช้ไลเปสจากรำข้าวไทยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในสารละลายโทลูอีน 2 ระบบ ได้แก่ กรดอะดิปิกและบิวเทนไดออล และ กรดอะดิปิกและพอลิ เอทธิลีนไกลคอล ที่มีมวลโมเลกุล 200 ได้ถูกทำขึ้นในอัตราส่วนทางปริมาณสารสัมพันธ์ พบวาระดับการเกิดปฏิกิริยากาสังเคราะห์พอลิเมอร์มีค่าหน่วยซ้ำบนสายโมเลกุลเป็น 4 และ 9 ในกรณี แรก และ 2 และ 6 ในกรณีหลัง ปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ถูกเร่งโดยอุณหภูมิ ที่ 80 ถึง 100 องศาเซลเซียส และใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา 7 วัน ไลเปสจากรำข้าวไทยถูกตรึงโดยวิธีการทางกายภาพและวิธีการใช้พันธะโควาเลนต์ เพื่อปรับปรุงแอคติวิตี้ของเอนไซม์ การตรึงทางกายภาพของไลเปสจากรำข้าวไทยบนฟูมซิลิกาในสภาวะที่เหมาะสมคือ การใช้อัตราส่วนระหว่างฟูมซิลิกาต่อเอนไซม์ เท่ากับ 1 ส่วนต่อ 40 ส่วน ซึ่งให้ปริมาณการตรึงเท่ากับ 38 % โดยมีแอคติวิตี้เท่ากับ 21 มิลลิยูนิตต่อมิลลิกรัม สำหรับวิธีการตรึงด้วยพันธะโควาเลนต์ของไลเปสจากรำข้าวไทยบนฟูมซิลิกา พบว่า ให้ปริมาณการตรึงเท่ากัน 50 % ซึ่งมีแอคติวิตี้เท่ากับ 9 มิลลิยูนิตต่อมิลลิกรัม การใช้เอนไซม์ที่ผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิ์ในการตรึงด้วยวิธีการยึดติดทางกายภาพและวิธีการพันธะโควาเลนต์ พบว่า แอคติวิตีมีค่าสูง 3 เท่า โดยเปรียบเทียนจากการใช้เอนไซม์ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิ์
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72556
ISBN: 9743341838
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nonsee_ni_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ815.24 kBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_ch1_p.pdfบทที่ 1629.04 kBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_ch2_p.pdfบทที่ 2784.21 kBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_ch3_p.pdfบทที่ 3736.55 kBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_ch4_p.pdfบทที่ 41.56 MBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_ch5_p.pdfบทที่ 5593.51 kBAdobe PDFView/Open
Nonsee_ni_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก787.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.