Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7285
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุษณีย์ พึ่งปาน | - |
dc.contributor.author | วิภา ด่านธำรงกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคเหนือ) | - |
dc.date.accessioned | 2008-06-30T03:24:31Z | - |
dc.date.available | 2008-06-30T03:24:31Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7285 | - |
dc.description.abstract | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือเป็นที่รู้จักกันว่า อ.ส.ม. เกิดจากความต้องการของรัฐที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรทุกแห่งในประเทศ โดยตั้งใจให้ อ.ส.ม. เป็นผู้ให้ความรู้และบริการสาธารณสุขเบื้องต้น แต่ในการปฏิบัติจริง อ.ส.ม. ที่ได้รับการอบรมไม่ได้ปฏิบัติให้ถึงเป้าประสงค์ดังกล่าว จากการศึกษาทัศนคติของ อ.ส.ม. ในภาคเหนือของประเทศ ต่อระบบสาธารณสุขมูลฐานในความรับผิดชอบ ได้ศึกษา อ.ส.ม. และชาวบ้านในชุมชนจาก 4 อำเภอ 2 จังหวัดในภาคเหนือ คือ อำเภอแม่แตงและอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอแม่สะเรียงและอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นพื้นที่ติดต่อกันและประชากรบางส่วนเป็นชาวไทยภูเขา จากจำนวน อ.ส.ม.ที่ศึกษา 160 ราย พบว่าการให้บริการของอ.ส.ม.ยังมีน้อย มีจำนวนถึงร้อยละ 45 ที่ต้องการเลิกทำงานทั้งนี้เพราะเห็นว่าเป็นงานที่ไม่มีค่าตอบแทน นอกจากนี้ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ขาดความเชื่อถือ อ.ส.ม. ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อกำหนดของกระทรวง แต่พอใจกับการปฏิบัติงานของผู้ที่เป็นหมอเถื่อน เช่น ผู้ที่ให้บริการฉีดยาหรือให้น้ำเกลือ ซึ่งมีอัตราอยู่ระหว่างร้อยละ 7.7 – 14.3 | en |
dc.description.abstractalternative | The system of village health volunteers, known as VHV, was initiated in response to the government strategy to develop the quality of life for all people around the country. It was intended that the VHV would be a person who offered health education and primary health care services. However the practice never reached that goal. The aim of this study was to detail the VHV work and their attitude towards their responsibilities. The study comprised of 160 VHVs and villagers in 4 districts of 2 provinces in the north, Mae Taeng and Samoeng districts in Chiang Mai Province and Mar Sarieng and Mae La Noi districts in Mae Hong Son Province. These districts were inhabited by both lowland Thais and hill tribe villagers. It is found that almost all VHVs provided less services that was expected 45% of them want to discard their job as there was no money supported it. Moreover villagers did not trust their ability as providers of primary medical care and health care information. Instead they preferred providers of illegal care, known as quacks, who provides such as injecting drugs and saline where the percentage of illegal medical care was found to be about 7.7-14.3% | en |
dc.format.extent | 6987818 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน -- ไทย (ภาคเหนือ) | en |
dc.subject | สาธารณสุขมูลฐาน -- ไทย (ภาคเหนือ) | en |
dc.title | ทัศนคติของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อ.ส.ม.) ในภาคเหนือของประเทศ ต่อระบบสาธารณสุขมูลฐานในขอบเขตความรับผิดชอบ | en |
dc.title.alternative | Attitudes of northern village health volunteers to the introduction of primary health care system | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Health - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Usanee.pdf | 6.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.