Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73818
Title: การพัฒนาดัชนีชี้ความบกพร่องของผู้ตอบแบบทดสอบ โดยการวิเคราะห์แบบแผนการตอบข้อกระทง
Other Titles: Development of respondent's deficiency index by using item response pattern analysis
Authors: สำราญ มีแจ้ง
Advisors: ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
ดิเรก ศรีสุโข
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
Subjects: การวัดผลทางการศึกษา
ข้อสอบ -- ความตรง
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
Educational tests and measurements
Issue Date: 2534
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครึงนมวัตถุประสํงค่เทือพัฒนาดัชนีสัความบกพร่องของผู้ตอบแบบทคส์อบโดยการวิเคราะห์ แบบแผนการตอบข้อกระทงและเปรึฒเทียบคุณภาพใบภารวินิจฉัยความบกพร่องของผู้ตอบแบบหดส์อบใน แบบแผนการตอบระหว่างดัชนีสัความบกพร่องทีผู้วิจัยพัฒนาขนกับดัชนีของชาโต้ เมือประชากรมีการแจกแจง ความสำมารถแตกต่างกัน 3 ลักษณะ คือ ความสำมารถสํง ปานกลาง และค่า คืกษากับกลุ่มตัวอย่างทีมี ขนาด 3 5 , 50 และ 200 คน แบบสํอบแต่ละฉบับมีจานวนข้อกระทงเท่ากับ 3 0 , 6 0 , 9 0 และ 120 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ - 3 ถึง +3 การคืกษาครํ้งนใข้เทคนิคมอนติคารโลข้มูเลข้นจาลองการหดลองด้วย เครืองคอมพิวเฅอร์ ผลการวิจัยพบว่า ดัชนีชี้ความบกพร่องที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น (DFC1, DFC2) มีความตรงในการจำแนก ผู้ตอบแบบทดสอบที่มีความบกพร่อง และมีความสัมพันธ์กับดัชนีของชาโต้ (Cᵢ) สูง ดัชนี DFC1 มีประสิทธิ ภาพในการวินิจฉัยความบกพร่องของผู้ตอบแบบทดสอบในแบบแผนการตอบสูงกว่าดัชนี DFC2 และ Cᵢ เมื่อประชากรมีความสามารถปานกลาง ส่วนดัชนี DFC2 มีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยความบกพร่องของผู้ ตอบแบบทดสอบในแบบแผนการตอบสูงกว่าดัชนี DFC1 และ Cᵢ เมื่อใช้กับกลุ่มประชากรที่มีความสามารถ สูงและกลุ่มประชากรที่มีความสามารถต่ำ
Other Abstract: The purposes of this research were to develop the respondent’s deficiency index by using item response pattern analysis and to compare the quality of respondent’s deficiency diagnosing in response pattern between the developed respondent’s deficiency index and Sato’s caution index. This research studied on 3 different population distribution, namely high, moderate and low abilities with the sample size of 35, 50, and 200 respondents respectively. The tests in this research composed of 30, 60, 90, and 120 items with the difficulty value between -3 to +3. The Monte Carlo Simulation Technique was applied. The simulation process was done by using the computer. The results indicated that the developed respondent’s deficiency index (DFC1, DFC2) had the validity for discriminating respondent’s deficiency and highly correlated with Sato’s caution index (Cᵢ). DFC1 was more efficient in diagnosing the respondent’s deficiency than DFC2 and Cᵢ for population with moderate ability, and DFC2 was more efficient in diagnosing the respondent’s deficiency than DFC1 and C
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534
Degree Name: ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาเอก
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73818
ISBN: 9745787507
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Samran_me_front_p.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_ch1_p.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_ch2_p.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_ch3_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_ch4_p.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_ch5_p.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Samran_me_back_p.pdf8.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.