Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorมารศรี กลางประพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-21T02:19:12Z-
dc.date.available2021-06-21T02:19:12Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73902-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบอัตราการตอบแบบสอบถามกลับคืนทางไปรษณีย์ระหว่างผู้ที่ได้รับกับไม่ได้รับสิ่งตอบแทน และเมื่อได้รับสิ่งตอบแทนที่ต่างกัน 3 ประเภท คือ สิ่งตอบแทนที่อยู่ในระดับความต้องการมากที่สุด ปานกลาง และน้อยที่สุด โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลองกลุ่มตัวอย่างเป็นครู-อาจารย์ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสายสามัญ สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามและสิ่งตอบแทนทางไปรษณีย์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบความแตกต่างของสัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามด้วยสถิติทดสอบซี และสถิติทดสอบไคสแควร์ ปรากฏข้อค้นพบที่สำคัญดังนี้ 1. อัตราการตอบแบบสอบถามกลับคืนจากครู-อาจารย์ที่ได้รับสิ่งตอบแทนสูงกว่าครู-อาจารย์ที่ไม่ได้รับสิ่งตอบแทน ทั้งในระยะก่อนการติดตามและหลังการติดตามครั้งที่ 1 และ 2 2. อัตราการตอบแบบสอบถามกลับคืนจากครู-อาจารย์ที่ได้รับสิ่งตอบแทนที่อยู่ในระดับความต้องการมากที่สุดและปานกลาง สูงกว่าครู-อาจารย์ที่ได้รับสิ่งตอบแทนที่อยู่ในระดับความต้องการน้อยที่สุด ทั้งในระยะก่อนการติดตามและหลังการติดตามครั้งที่ 1 และ 2 3. อัตราการตอบแบบสอบถามกลับคืนระหว่างครู-อาจารย์ที่ได้รับสิ่งตอบแทนที่อยู่ในระดับความต้องการมากที่สุดและปานกลาง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งในระยะก่อนการติดตามและหลังการติดตามครั้งที่ 1 และ 2-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the return response rates of the mailed questionnaires between teachers who received the incentive with those who did not receive anything, and also compare the return response rates among teachers who received the high, moderate, and low desirable incentives. The field experiment was employed for this research. The sample of 400 teachers from the Public Secondary Schools in Metropolitant Bangkok were randomly assigned into four groups according to types of incentive. The questionnaires and the incentives were sent to the subjects by mail. The data on return response rates were analyzed by z-test, and Chi-Square test. The major findings were as follows : 1. The return response rate from teachers who received the incentive was higher than those who did not receive the incentive. 2. The return response rates from teachers who received the high, and the moderate desirable incentives were higher than those who received the low desirable incentive. 3. The return response rates between teachers who received the high, and moderate incentives were not significant.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบสอบถามen_US
dc.subjectการสำรวจทางไปรษณีย์ -- อัตราการตอบรับen_US
dc.subjectQuestionnairesen_US
dc.subjectMail surveys -- Response rateen_US
dc.titleการเปรียบเทียบอัตราการตอบแบบสอบถามกลับคืนทางไปรษณีย์ เมื่อให้สิ่งตอบแทนที่ต่างกันen_US
dc.title.alternativeA comparison of return response rates of the mailed questionnaires among different incentivesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Marasri_kl_front_p.pdf899.25 kBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_ch1_p.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_ch2_p.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_ch3_p.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_ch4_p.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_ch5_p.pdf903.37 kBAdobe PDFView/Open
Marasri_kl_back_p.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.