Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74265
Title: | การคำนวณอัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าสำหรับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าภายในเขตพื้นที่เดียวกันและข้ามเขตพื้นที่ |
Other Titles: | Transmission System Wheeling Charge Calculation for Power Transactions in The Same Area and Across Areas |
Authors: | ธนภูมิ วงศ์คม |
Advisors: | สุรชัย ชัยทัศนีย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ากำลัง การจ่ายพลังงานไฟฟ้า Electricity Electric power systems Electric power distribution |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ในปัจจุบันบทบาทของภาคเอกชนที่มีต่อการซื้อขายไฟฟ้าในรูปแบบของการทำสัญญาซื้อขายระหว่าง ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer : SPPs) กับผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตนิคมอุตสาหกรรมมีมากขึ้นส่งผลให้อาจจะเกิดการลงทุนสร้างระบบส่งไฟฟ้าของตนเองมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาความซ้ำซ้อนของระบบส่งไฟฟ้า ผู้ให้บริการระบบส่งไฟฟ้าจำเป็นต้องยินยอมให้ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนมีการเชื่อมต่อเข้ากับระบบและมีการจ่ายกำลังไฟฟ้าผ่านระบบโครงข่ายของผู้ให้บริการระบบส่งไฟฟ้า แต่ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่เชื่อมต่อเข้ามาสู่ระบบโครงข่ายมีความจำเป็นที่จะต้องช่วยแบ่งเบาภาระที่เกิดจากการลงทุนขยายระบบของผู้ให้บริการระบบส่งไฟฟ้าด้วย โดยผู้ให้บริการระบบส่งไฟฟ้าจะทำการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายนั้นจะอยู่ในรูปของ อัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้า (Transmission System Wheeling Charge) วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอแนวทางในการคำนวณอัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าสำหรับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าภายในเขตพื้นที่เดียวกันและสำหรับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าข้ามเขตพื้นที่ เมื่อมีการลงทุนขยายโครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าเพิ่มเติมในระหว่างช่วงที่มีการเรียกเก็บค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้า โดยจะพิจารณาและวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจจะผลกระทบต่ออัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าและค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าที่คู่สัญญาซื้อขายไฟฟ้าจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ให้บริการระบบส่งไฟฟ้า ผลของการคำนวณอัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้านั้นพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าสำหรับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าในเขตพื้นที่เดียวกันคือ ตำแหน่งของคู่สัญญาซื้อขายไฟฟ้าคู่ใหม่ที่เข้ามาเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราค่าผ่านระบบส่งไฟฟ้าสำหรับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าข้ามเขตพื้นที่คือรูปแบบของการทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าซึ่งได้แก่การทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าข้ามระดับแรงดันและการทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าข้ามเขตภูมิภาค |
Other Abstract: | In Thailand, Small Power Producers (SPPs), ranging from 10 to 90 MW, tends to directly supply power to their customer in Industrial estates. To prevent from transmission systems constructing redundantly, the transmission utilities should allow SPPs to connect and supply electrical power through the transmission utilities, However, SPPs are required to share the responsibility for the additional expenses of the systems. So the transmission utilities aim to charge the transaction of SPPs in term of transmission wheeling charge This thesis proposes a concept of transmission wheeling charge calculation for same area transactions and across area transactions while the additional investment during wheeling charge collecting period occurs. This thesis also consider impact of factors that can affect the transmission wheeling rate and the transmission wheeling charge that SPPs has to pay for the transmission utilities. The results of the transmission wheeling rate show that the factor that leads to the change of transmission wheeling rate for same area transactions is incoming SPPs locations, and the factor that leads to the change of transmission wheeling rate for across area transactions is the type of across area transactions which are across the voltage and across the transmission utilities region |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74265 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1235 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2018.1235 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
En_6070206121_Thanapoom Wo.pdf | 3.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.