Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPitt Supaphol-
dc.contributor.authorPakakrong Sangsanoh-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-09-03T10:19:30Z-
dc.date.available2021-09-03T10:19:30Z-
dc.date.issued2014-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75395-
dc.descriptionThesis (Ph.D)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractTissue engineering is an emerging technology in the contemporary human health care administration, in which the basic understanding of cellular biology and bioengineering are combined together for developing feasible substitutes to aid in the clinical treatment. The primary objectives of these substitutes are to restore, maintain and/or improve tissue functions by mimicking the structure and biological function of native extracellular matrix (ECM) proteins. In the present contribution, natural biocompatible polymer, Chitosan and synthetic biocompatible polymer, poly(3- hydroxybutyrate) were fabricated into fibrous membranes by electrospinning technique. The 3D structure and topography of the obtained electrospun fibrous membranes resemble those of the collagen bundles in the natural ECM. The potential for use of the electrospun fibrous membranes as tissue scaffolds was evaluated with different cell types in terms of the cytotoxicity, attachment and the proliferation of the cells as well as the morphology of the seeded and the cultured cells. For enhancing the cell-scaffold interaction, the surface treatment was performed. These treatments not only improve the hydrophilicity on the surface substrates, but also provide the necessary active sites for interacting with cell-adhesive molecules such laminin. The results from in vitro cell studies suggested that the surface topography and surface chemistry have a significant influence on the particular cell responding. All of these results emphasized the importance of the surface properties on the cellular behaviour.-
dc.description.abstractalternativeวิศวกรรมเนื้อเยื่อเป็นเทคโนโลยีที่มีความเร่งด่วนในการพัฒนาความรู้เพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วย ซึ่งในการศึกษาพัฒนาจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางด้านชีววิทยาของเซลล์และวิศวกรรมชีวภาพ เพื่อประยุกต์ใช้ในการพัฒนาวัสดุทดแทนเนื้อเยื่อสำหรับใช้ในทางการรักษาเป็นหมายหลักในการใช้งานวัสดุทดแทนเนื้อเยื่อคือการนำไปทดแทน หรือปรับปรุงการทำงานของเนื้อเยื่อโดยการจำลองแบบโครงสร้างของเนื้อเยื่อโปรตีนตามธรรมชาติ ในงานวิจัยนี้เราได้ทำการขึ้นรูปแผ่นเส้นใยไคโตซานซึ่งเป็นพอลิเมอร์จากธรรมชาติ และแผ่นเส้นใยพอลิไฮดรอกซิบิวทิเรตซึ่งเป็นพอลิเมอร์ สังเคราะห์ด้วยกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตย์ โครงสร้างสามมิติและลักษณะพื้นผิวของแผ่นเส้นใยอิเล็คโตรสปันที่เตรียมได้สามารถจำลองลักษณะของเส้นใยคอลลาเจนที่ธรรมชาติ ความเป็นไปได้ในการใช้แผ่นเส้นใยอิเล็คโตรสปันเพื่อใช้เป็นวัสดุโครงร่างเทียมสำหรับการเพาะเลี้ยงเซลล์ได้ถูกประเมินโดยใช้เซลล์ทดสอบชนิดต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย เซลล์ชวานน์ เซลล์ออสทิโอบลาสต์ เซลล์คีราติโนไซต์ เซลล์ไฟโปรบลาสต์ เซลล์มูรีนนิวโรบลาสต์โตมา และ สเต็มเซลล์ของเซลล์ประสาท ในแง่ของความเป็นพิษต่อเซลล์ การยึดเกาะของเซลล์ การเพิ่มจำนวนเซลล์ และสัณฐานวิทยาของเซลล์ และเพื่อเพิ่มความเข้ากันได้ระหว่างเซลล์ ทดสอบกับวัสดุโครงร่างเทียม แผ่นเส้นใยจะถูกนำไปผ่านกระบวนการไลซิสที่พื้นผิวของเส้นใยกระบวนการไลซิสนี้ไม่เพียงแต่ช่วยเพิ่มความชอบน้ำบนพื้นผิวของเส้นใย แต่ยังช่วยเพิ่มหมู่ฟังก์ชั่น ในการทำปฏิกิริยากับโปรตีนที่ช่วยส่งสริมการยึดเกาะของเซลล์ได้อีกด้วย จากผลการทดสอบกับเซลล์ในห้องทดลองพบว่าลักษณะพื้นผิวและลักษณะทางเคมีของพื้นผิวมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตอบแสดงของเซลล์ทดสอบ และจากการศึกษาเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของสมบัติของพื้นผิวที่มีผลต่อพฤติกรรมของเซลล์-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1521-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectTissue engineering-
dc.subjectCell culture-
dc.subjectวิศวกรรมเนื้อเยื่อ-
dc.subjectการเพาะเลี้ยงเซลล์-
dc.titleElectrospun fibrous and solvent-cast film scaffolds for tissue engineering addlicatinen_US
dc.title.alternativeเส้นใยอิเล็คโตรสปันและแบบแผ่นฟิล์มสำหรับการประยุกต์ด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1521-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakakrong_sa_front_p.pdfCover and abstract1.03 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch1_p.pdfChapter 1651.86 kBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch2_p.pdfChapter 21.2 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch3_p.pdfChapter 32.51 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch4_p.pdfChapter 41.7 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch5_p.pdfChapter 52.11 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch6_p.pdfChapter 61.55 MBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_ch7_p.pdfChapter 7649.85 kBAdobe PDFView/Open
Pakakrong_sa_back_p.pdfReference and appendix948.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.