Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7564
Title: การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์
Other Titles: A development of creative problem solving ability of prathom suksa four students by using Torrance's creative problem solving process
Authors: ศศิรัศม์ สริกขกานนท์
Advisors: ดวงเดือน อ่อนน่วม
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: การแก้ปัญหา
ความคิดสร้างสรรค์
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยโดยนำกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์มาใช้ในการสอนเนื้อหาวิชาภาษาไทย เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจากการทำแบบสอบความสามารถ ในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ t-test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ โดยการใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์ มีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถ ในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียน ที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
Other Abstract: To develop creative problem solving ability of Prathom Suksa four students by using Torrance's creative problem solving process. The subjects of the study were 30 Prathom Suksa four students in Udom Suksa school, Bangkok Metroprolis. Instrument used in this study was a creative problem solving ability test. The procedure of this study was : teaching Torrance's creative problem solving process through Thai language contents, testing creative problem solving ability and analysing the result of the test with t-test. It was found that after Prathom Suksa four students had been taught creative problem solving by using Torrance's creative problem solving process, the different mean score between pre and post test of the experimental group was higher than which of the control group at .01 level of significance
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ประถมศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7564
ISBN: 9746378066
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasirat_Sa_front.pdf980.85 kBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_ch1.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_ch2.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_ch3.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_ch4.pdf855.6 kBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_ch5.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Sasirat_Sa_back.pdf4.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.