Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์-
dc.contributor.authorอรณรัณ พสุธานันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-10-31T09:58:34Z-
dc.date.available2021-10-31T09:58:34Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77684-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractการทำงานจากบ้าน หรือ Work from Home ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน ต่างประเทศ เนื่องจากรูปแบบการใช้ชีวิตและค่านิยมเกี่ยวกับการทำงานของลูกจ้างเปลี่ยนแปลงไป โดยลูกจ้างให้ความสำคัญกับความสมดุลระหว่างชีวิตส่วนตัวและชีวิตการทำงาน รวมถึงสุขภาพและ ความปลอดภัยในการทำงานเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและ สารสนเทศ จึงทำให้ลูกจ้างสามารถทำงานจากบ้านได้เสมือนทำงานจากสถานที่ทำงานของนายจ้าง สำหรับประเทศไทยการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นตัวเร่งที่สำคัญที่ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานจากสถานที่ทำงานของนายจ้างไปสู่การทำงานจากบ้าน และมี แนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรมากขึ้นในหลาย ๆ องค์กรหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สิ้นสุดลง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่ารูปแบบการทำงานจากบ้านจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อนายจ้างและ ลูกจ้าง แต่จากผลสำรวจในประเทศไทยพบว่า ปัญหาการทำงานจากบ้านที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกจ้างมีเวลาทำงานเพิ่มมากขึ้นต่อวันหรือต่อสัปดาห์ เมื่อพิจารณาจากตัวบทกฎหมายของประเทศ ไทยพบว่า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเวลาทำงานที่ปรากฎในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และกฎกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีลักษณะไม่สอดคล้องกับรูปแบบการทำงานจากบ้าน ผู้วิจัยจึงเห็นควรที่จะศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดเวลาทำงาน ควบคู่ไปกับมาตรการทางการ บริหารทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมกับรูปแบบการทำงานจากบ้าน โดยผู้วิจัยทำการศึกษากฎหมาย แรงงานของประเทศญี่ปุ่นที่ใช้สำหรับรูปแบบการทำงานจากบ้าน จากการศึกษา พระราชบัญญัติมาตรฐานแรงงาน ค.ศ. 1947 ของประเทศญี่ปุ่น พบว่า มีหลักการกำหนดเวลาทำงานที่หลากหลายรูปแบบ ซึ่งทุกรูปแบบสามารถนำไปใช้กับการทำงานจาก บ้านในประเทศญี่ปุ่นได้ทั้งสิ้น โดยองค์กรจะเลือกใช้รูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและบริบทของ แต่ละองค์กร ทั้งนี้ผลจากการศึกษาพบว่า รูปแบบที่เหมาะสมจะนำมาปรับใช้กับการทำงานจากบ้าน ของประเทศไทย คือ ระบบเวลาทำงานที่ยืดหยุ่น (Flextime System) และเนื่องจากการทำางาน จากบ้านเป็นลักษณะที่ลูกจ้างอยู่ห่างจากนายจ้าง ดังนั้นจึงนิยมประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้ดัชนี ชี้วัดผลสำเร็จของงาน (Key Performance Indicators: KPI) เนื่องจากสามารถวัดผลได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม และสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ จึงถือว่าเป็นรูปแบบการประเมินผลที่สามารถสะท้อน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของลูกจ้างได้อย่างแท้จริงen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.150-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขัดกันแห่งกฎหมาย -- เวลาen_US
dc.subjectการประเมินผลงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการเวลาทำงาน สำหรับการทำงานจากบ้าน (Work from Home)en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.subject.keywordwork from homeen_US
dc.subject.keywordการคุ้มครองแรงงานen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.150-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280090434.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.