Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/797
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | สุทธิจิตต์ จินตยานนท์ | - |
dc.contributor.author | รัตนา จารุเบญจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-15T02:07:11Z | - |
dc.date.available | 2006-07-15T02:07:11Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746330187 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/797 | - |
dc.description.abstract | สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบหมายจากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ให้ดำเนินการศึกษาสภาพปัญหาสารเสพติดในกิจการไร่อ้อย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาการใช้สารเสพติด พฤติกรรมการใช้สารเสพติด ตลอดจนความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นเกี่ยวกับสารเสพติดในกลุ่มคนงานที่มาทำงานในไร่อ้อยเป็นการชั่วคราว การศึกษาดำเนินในพื้นที่ 5 จังหวัดที่มีการปลูกอ้อยมากที่สุดคือ จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า คนงานชั่วคราวที่อพยพเข้ามาทำงานในพื้นที่ทั้ง 5 จังหวัดซึ่งส่วนมากเป็นคนมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นเป็นกลุ่มคนที่มีการใช้สารเสพติดหลายชนิด ที่ใช้มากคือ บุหรี่ สุรา ยาแก้ปวด และเครื่องดื่มชูกำลัง ส่วน "ยาบ้า" พบว่ามีคนงานไร่อ้อยเพียงร้อยละ 12 ของจำนวนตัวอย่างที่ใช้ การใช้สารเสพติดในกลุ่มคนงานเหล่านี้ไม่น่าวิตกว่าจะก่อให้เกิดปัญหา ถึงแม้จะมีการสูบบุหรี่จัดมาก แต่ในการดื่มสุราปรากฎว่าเป็นการดื่มเพื่อให้เจริญอาหารมากกว่าดื่มจนเมาหมดสติหรือแม้แต่การใช้ยาแก้ปวด เครื่องดื่มชูกำลัง ก็มีการหยุดใช้เมื่อมาทำงานในไร่อ้อย มีเพียงการใช้ "ยาม้า" เท่านั้นที่พบว่าผู้ใช้นั้นมีเจตนาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานโดยเฉพาะกลุ่มที่ต้องใช้พละกำลังและต้องใช้เวลานานเช่นพวกที่ขนอ้อยขึ้นรถ พวกที่ทำงานขับรถบรรทุก และพวกที่ทำงานเหมา (ทั้งตัดและขนอ้อย) อย่างไรก็ตามคนงานไร่อ้อยเหล่านี้ต่างรู้ถึงโทษภัยของสารเสพติดเหล่านั้นเป็นอย่างดี แต่ที่ต้องใช้สารเหล่านั้นเพราะต้องการทำงานให้มากขึ้น ต้องการมีรายได้เพิ่มขึ้นนั้นเอง | en |
dc.description.abstractalternative | Chulalongkorn University Social Research Institute has undertake a study of the problem of stimulant use among sugarcane workers in the area of five most important sugarcane planting provinces. These are Kanchana Buri, Supan Buri, Udon Thani, Kampaengpetch, and Chon Buri. The study aims at investigating existing nacortics use, attitudes towards and knowledge of nacortics, the factors contributing to the use or non-use of nacortics. The results of the survey reveal that most sugarcane workers consume several kinds of substances. Most of the substances used by the workers are cigarettes, alcohol, pain killer, and เครื่องดื่มชูกำลัง. As to amphetamine or "Ya Ma", only twelve percent of the sample was found to be users. The use of these substances do not appear to harm their health, even though the cigarette smokers are heavy users. Those who drink alcohol use it as appetizer. Many pain killer consumers stop using when they work in sugarcane activities. The amphetamine users do so to be able to work longerthan usual, particularly when working on sugarcane carrying, driving sugarcane trucks, and engaging in contract labor. However, the sugarcane workers have knowledge of the danger of the substances. They decide to use because of the income incentive. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด | en |
dc.format.extent | 27188070 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | แรงงานในเกษตรกรรม--ไทย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมอ้อย | en |
dc.subject | การติดยาเสพติด | en |
dc.title | สภาพปัญหาสารเสพติดในกิจการไร่อ้อย : รายงานการศึกษา | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Social Research - Research Reports |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.