Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8703
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิมลรัตน์ ตระการพฤกษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-01-20T08:23:11Z | - |
dc.date.available | 2009-01-20T08:23:11Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8703 | - |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ ได้สังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะแทรนซิชัน Pt หรือ Pd ร่วมกับ Ga หรือ Zn บนตัวรองรับมอร์ดิไนต์ ที่ได้ทำการปรับสภาพความเป็นกรดให้ลดลง ด้วยการใส่ K วิธีการใส่โลหะชนิดต่างๆ ใช้วิธีที่ต่างกัน 2 วิธี ทำการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ของตัวเร่งปฏิกิริยาที่สังเคราะห์ได้ด้วยเทคนิค XRD (X-ray diffraction), IR (infrared spectroscopy), ICP-AES (Inductively coupled plasma atomic emission spectrometry), BET (Brunauer –Emmett-Teller method) และ Temperature programmed desorption (TPD) ทดสอบประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนรูปของนอร์มัลเฮกเซน โดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยา ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา อัตราเร็วการป้อนสารตั้งต้น Time on stream ปริมาณโลหะ และวิธีการใส่โลหะตรวจสอบสารตั้งต้นที่เหลือและผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นด้วยเทคนิค GC และ GC/MS หาปริมาณโค้กที่เกิดขึ้นด้วยเทคนิค Thermogravimetric analysis (TGA) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา สรุปได้ว่า ชนิดและปริมาณโลหะที่ใส่มีผลต่อ %conversion และสัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีหลายแบบ โดยเกิด ปฏิกิริยา isomerization เป็นส่วนใหญ่ และ BTX (อะโรแมติก) ในปริมาณที่น้อย การปรับสภาพความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยการเติม K มีผลต่อปฏิกิริยา ในงานวิจัยนี้ ได้ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาผสมโดยเฉพาะสารที่มี Ga เป็นองค์ประกอบ พบว่าสามารถเพิ่ม BTX ให้สูงขึ้นได้ จากการทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยาผสมระหว่าง ตัวเร่งปฏิกิริยา 0.5%Pt/2.0%Ga/3%K/MOR กับ Ga-MCM41สามารถทำให้ปริมาณ BTX เพิ่มขึ้นมาก | en |
dc.description.abstractalternative | In this research, the catalysts of transition metal, Pt or Pd together with Ga or Zn on mordenite which has been reduced its acidity as support were synthesized, using different metals and with two different metal loading methods. They were characterized by several techniques: XRD (X-ray diffraction), IR (infrared spectroscopy), ICP-AES (Inductively coupled plasma atomic emission spectrometry), BET (Brunauer–Emmett-Teller method) and temperature programmed desorption (TPD). The catalysts were used for the conversion of n-hexane. Parametes influencing the reaction were investigated: temperature, time, feeding rate, time on stream, %metal and metal loading method. The remaining hexane and products were detected and quantified by GC and GC/MS. %Coke was determined by Thermogravimetric analysis (TGA). The results of the comparison of catalyst activity show that %conversion and products depends on type and amount of metal loaded. Many reactions occurred with isomerization as the main reaction with small amount of BTX (aromatic product). The reaction was affected by modification of acidity of the catalysts by adding K. In this work, the catalyst admixture especially with compound containing Ga was tested the activity. The results on the 0.5%Pt/2.0%Ga/3%K/MOR mixed with Ga-MCM41 can increase BTX amount. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en |
dc.format.extent | 596179 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะ | - |
dc.subject | มอร์ดิไนต์ | - |
dc.subject | ไอโซเมอไรเซชัน | - |
dc.subject | เฮกเซน | - |
dc.title | ไอโซเมอไรเซชันของเฮกเซนเร่งปฏิกิริยาด้วยโลหะบนตัวรองรับมอร์ดิไนต์ : รายงานวิจัย | en |
dc.title.alternative | Isomerization of hexane catalyzed by metals on mordenite support | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wimonrat_Iso.pdf | 582.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.