Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุวิมล ธนะผลเลิศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-01-22T07:43:46Z | - |
dc.date.available | 2009-01-22T07:43:46Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8718 | - |
dc.description.abstract | ห้องสมุดเป็นงานที่มีส่วนส่งเสริมการศึกษาทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ในการพัฒนาคน ให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ในแนวทางที่ถูกต้องเป็นธรรม โดยการพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้รู้เท่าทันสารสนเทศ ควรจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาการรู้สารสนเทศในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุ่มพัฒนากิจกรรมผู้เรียนที่สถานศึกษา จัดทำได้และสามารถสอดแทรกได้ทุกกลุ่มสาระวิชา ห้องสมุดโรงเรียนในช่วงการเปลี่ยนผ่าน จะต้องเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของโรงเรียนในทุกๆวิชา ต้องเป็นคลังความรู้ ต้องปรับตัวและเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้โรงเรียนควรใช้ห้องสมุดเป็นเครื่องมือในการพัฒนาครูและนักเรียน อันเป็นรากฐานที่จะศึกษาในขั้นสูงและปลูกฝังให้รักการอ่านการค้นคว้าตลอดชีวิต ผู้บริหาร บรรณารักษ์ และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องปรับเปลี่ยนให้ห้องสมุดโรงเรียน มีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน สังคม ชุมชน ส่งเสริมให้ครู นักเรียนมีความสุข มีเสรีภาพในการเรียนรู้ มีอิสรภาพในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนสามารถพัฒนาและเติบโต ในกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับช่วงวัย รู้จักรับรู้กฎระเบียบ การใช้ทรัพยากรร่วมกันและรักษาทรัพยากรเพื่อส่วนรวม และควรกำหนดให้บรรณารักษ์เป็นวิชาชีพในมาตรฐานเดียวกับครูผู้สอนและผู้บริหาร ส่งเสริมและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญในโรงเรียน ในบทบาท ศูนย์เรียนรู้และบริการ เพื่อเป็นกลไกสำคัญของกระบวนการเรียนการสอน การเรียนรู้ด้วยตนเองและการศึกษาตามอัธยาศัย | en |
dc.description.abstractalternative | A library serves as an educational unit supporting both directly and indirectly to the development of students’ impartial thinking and problem solving skills by keeping them up-to-date with immediate information. Schools should be able to provide information literacy as parts of the basic curriculum through students’ development activities and integrated into different subject areas as well. During this transitional period, the libraries should serve as a significant knowledge banks and efficiently serve every students in the learning and adjusting to the new knowledge. They should be tools for teachers’ and students’ development in establishing reading habit for life long learning. Executives, librarians and those involved should transform the libraries to serve the needs of the school, the community and the society. Teachers and students are encouraged to learn independently and freely. Students develop their learning processes appropriately according to their ages. They learn to accept rules, share resources and preserve their environments. Most important of all, librarian should be identified as professional as teachers and executives. The school library should be developed to be a key learning and servicing resource center as it is an essential mean in the processes of teaching and learning, self-directing education, and non-formal education. | en |
dc.format.extent | 379879 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ห้องสมุดโรงเรียน | en |
dc.subject | ห้องสมุดกับการศึกษา | - |
dc.title | ห้องสมุดโรงเรียนในช่วงเปลี่ยนผ่าน | en |
dc.title.alternative | School libraries in transformation | en |
dc.type | Article | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Edu - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
suvimon_sch.pdf | 370.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.