Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8947
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ ไวทยวงศ์สกุล | - |
dc.contributor.author | วีระ ชูกระชั้น | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคเหนือ) | - |
dc.coverage.spatial | เชียงใหม่ | - |
dc.date.accessioned | 2009-06-04T09:34:04Z | - |
dc.date.available | 2009-06-04T09:34:04Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8947 | - |
dc.description.abstract | โครงการนี้จะศึกษาแนวทางในการขึ้นรูปดินบ้านแพะสันใหม่ จ.เชียงใหม่ ด้วยวิธีการเทแบบ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการศึกษาวิจัยและนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม โดยในการทดลองจะใช้สูตรเนื้อดินปั้นทั้งที่ใช้เนื้อดินล้วน และเนื้อดินผสมทรายในอัตราส่วน 75 ต่อ 25 เตรียมเป็นน้ำดินที่มีปริมาณของแข็ง 50-60% จากนั้นจึงศึกษาสมบัติของน้ำดินที่ได้ เช่น ความหนืด อัตราการเทแบบ เพื่อเลือกสูตรน้ำดินที่เหมาะสม ก่อนจะทดลองเทแบบเป็นแท่งสำหรับทดสอบสมบัติทางเซรามิก ซึ่งจากการทดลองพบว่าดินบ้านแพะสันใหม่สามารถเตรียมเป็นน้ำดินที่มีการไหลตัวดีแม้จะใช้ปริมาณของแข็งสูงถึง 60% การเพิ่มปริมาณของแข็งในน้ำดินจะทำให้อัตราการเทแบบสูง แต่ความหนืดก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน การเติมทราย 25% ช่วยให้ความหนืดลดลงและอัตราการเทแบบสูงขึ้น ชิ้นงานที่ได้จากเนื้อดินปั้นที่ผสมทรายจะมีการหดตัวน้อย การดูดซึมน้ำเพิ่มขึ้นและความแข็งแรงลดลง ดังนั้นเนื้อดินที่เหมาะกับการเทแบบควรจะมีปริมาณของแข็งสูงพอสมควร และเติมทรายในเนื้อดินปั้นเพื่อลดความหนืดของน้ำดิน | en |
dc.description.abstractalternative | This project study method to forming ball clay from Ban Phae San Mai, Chiang Mai by slip casting, Objectives of project are to used as data for other research and apply to industry. In this research, Both 100% clay and clay mixed sand at 75 : 25 body are prepared to slip at 50-60 wt% solid contents and testing slip properties as viscosity, casting rate. The best condition slip is prepared testing specimens. From this study, Ban Phae San Mai clay can prepared to flowability slip at 60wt% solid. Increasing %clay in slip can made higher casting rate but increase viscosity. Mixing 25wt% sand in clay can decrease viscosity, shrinkage and bending strength, increase casting rate and water absorption. So good slip casting body are high solid contents and mixing sand to decrease viscosity. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en |
dc.format.extent | 1235778 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เครื่องปั้นดินเผา | - |
dc.subject | การปั้น | - |
dc.subject | ดิน -- ไทย -- บ้านแพะสันใหม่ (เชียงใหม่) | - |
dc.title | การพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาชนิดดินแดง : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Development of production of red clay pottery | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Metal - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surasak_dev.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.