Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9049
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดพงศ์ ประดิษฐสุวรรณ-
dc.contributor.advisorสุเมธ ตันตระเธียร-
dc.contributor.authorทิพวัลย์ วัชรอาภานุกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-13T03:44:16Z-
dc.date.available2009-06-13T03:44:16Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743467114-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9049-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractไคโตแซนเป็นพอลิแซคคาไรด์ในธรรมชาติเพียงชนิดเดียวที่มีประจุบวก ซึ่งมีกานำไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์อย่างมากมาย มีงานวิจัยพบว่าการเติมไคโตแซนลงในสารแขวนลอยเยื่อยาวหรือเยื่อใยสั้นในกระบวนการผลิตกระดาษนั้นสามารถปรับปรุงสมบัติทางกายภาพด้านต่าง ๆ ของกระดาษได้ อย่างไรก็ตามยังไม่มีงานวิจัยที่ศึกษาผลของไคโตแซนที่มีต่อเซลลูโลสในระดับไมโครไฟบริลเช่น เซลลูโลสจากแบคทีเรีย วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การศึกษาการผลิตฟิล์ม และการศึกษาสมบัติทางกายภาพของฟิล์มเซลลูโลสจากแบคทีเรีย-ไคโตแซนที่ผลิตได้ ซึ่งจากการศึกษาโดยกำหนดน้ำหนักมาตรฐานของฟิล์มเซลลูโลสจากแบคทีเรีย-ไคโตแซนคงที่ 30 กรัมต่อตารางเมตร และแปรปริมาณไคโตแซนในสารแขวนลอยผสมระหว่างไคโตแซนและเซลลูโลสจากแบคทีเรียในช่วงร้อยละ 0 ถึง 30 ของน้ำหนักเยื่ออบแห้ง และค่าความเป็นกรด-ด่างของสารแขวนลอยผสม 4.5, 7.0 และ 10.0 พบว่าที่ระดับการผสมไคโตแซนร้อยละ 10 ของน้ำหนักเยื่ออบแห้ง และค่าความเป็นกรด-ด่าง 10.0 ให้สมบัติทางกายภาพโดยรวมของฟิล์มดีที่สุด โดยจากการขึ้นฟิล์มในสภาวะนี้ดัชนีความต้านแรงดึงของฟิล์มเพิ่มขึ้นร้อยละ 27 ดัชนีความต้านแรงดันทะลุของฟิล์มเพิ่มขึ้นร้อยละ 42 ความยึดของฟิล์มเพิ่มขึ้นร้อยละ 35 และการซึมผ่านได้ของไอน้ำของฟิล์มเพิ่มขึ้นร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับแผ่นฟิล์มที่ไม่ได้รับการเติมไคโตแซน อย่างไรก็ตามดัชนีความต้านแรงฉีกขาดของฟิล์มลดลงร้อยละ 32 จากฟิล์มซึ่งไม่ได้รับการเติมไคโตแซนen
dc.description.abstractalternativeChitosan is the only of natural cationic polysaccharide which can be utilized in numbers of commercial applications. It was found that the adding of chitosan into aqueous cellulosic pulp suspension obtained either from hard wood or soft wood can improve the overall properties of the paper. However, there is no research studying on the effects of applying chitosan to microfibril cellulose such as bacterial cellulose. The objectives of this study is to synthesize bacterial cellulose-chitosan film and characterize its properties. In this study, at a constant basis weight (30 g/m2) the mass of chitosan in the mixture of bacterial cellulose-chitosan were varied between 0 and 30 percent of dry bacterial cellulose and pH of the suspension were varied at 4.5, 7.0 and 10.0 and 1000. It was found that at 10 percent chitosan and pH 10, the film with the best properties. (of (at) 27 percent increased in dry tensile index, 42 percent increased in burst index, 35 percent increased in elongation, and 18 percent increased in water permeability, as compared to the chitosan-free film) However, the tear index of this film was found to be 32 percent poorer than that of the chitosan-free film.en
dc.format.extent2869298 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไคโตแซนen
dc.subjectเซลลูโลสen
dc.titleการผลิตฟิล์ม และสมบัติทางกายภาพของฟิล์มเซลลูโลสจากแบคทีเรีย-ไคโตแซนen
dc.title.alternativeFilm production and physical properties of bacterial cellulose chitosan filmen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tippawan.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.