Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.authorชุติมา หรุ่มเรืองวงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-06T09:50:11Z-
dc.date.available2009-08-06T09:50:11Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741742533-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9734-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะวิตกกังวล และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการทำกายภาพบำบัด ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 85 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความวิตกกังวล และความซึมเศร้า (Hospital anxiety and depression ฉบับภาษาไทย) แบบสอบถามความสามารถการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel ADL index), แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม ส่วนที่ II (The Personal Resource Questionnaires : PRQ part II) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-square test และ stepwise multiple regression analysis ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษานี้พบว่าความชุกของภาวะวิตกกังวลในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกที่มาเข้ารับการทำกายภาพบำบัด เท่ากับร้อยละ 24.7 โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระยะเวลาที่เป็นโรคที่มากกว่า 6 เดือน ระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่เป็นแบบช่วยเหลือตัวเองได้น้อย (severe dependence และ total dependence) และแรงสนับสนุนทางสังคมที่น้อย โดยทั้ง 3 ตัวแปรมีความสัมพันธ์กับภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.01 และเมื่อนำตัวแปรทั้ง 3 นี้มาทำการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบว่าทั้ง 3 ตัวแปร ยังคงมีผลต่อภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ p< 0.01 ทุกตัวแปรen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the prevalence of anxiety and associated factors of 85 stroke patients who come to attend physical rehabilitation programs at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The instruments used comprised of demographic data, Thai version of Hospital Anxiety and Depression scale, The Barthel ADL index, The personal Resource Questionires. : PRQ part II. and psychiatric interview. The data were analyzed for descriptive statistic : percentage, mean, standard division, Chi-square test and stepwise multiple regression analysis by SPSS for Windows. The result of this study were as follows : Prevalence rate of study was 24.7% and found that there are 3 factors associated significantly with anxiety. These factors are duration of the illness more than 6 months, Bathel ADL index at the level severe dependence and total dependence, and low social support. They are associated significantly with anxiety at statistical level p<0.01. From Stepwise Multiple Regression Analysis showed that all 3 factors still statistically associated with anxiety at level p<0.01.en
dc.format.extent2072700 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความวิตกกังวลen
dc.subjectอัมพาตครึ่งซีก -- ผู้ป่วยen
dc.subjectกายภาพบำบัดen
dc.titleความชุกของภาวะวิตกกังวลในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการทำกายภาพบำบัด ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativePrevalence of anxiety after stroke in physical rehabilitation patients at King Chulalongkorn Memorial Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutima.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.