Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10192
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล | - |
dc.contributor.advisor | สำเรียง เมฆเกรียงไกร | - |
dc.contributor.author | สุวรรณนี ภู่สุวรรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-17T05:49:45Z | - |
dc.date.available | 2009-08-17T05:49:45Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743472649 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10192 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | กรุงเทพมหานครในฐานะเมืองหลวงของประเทศและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะต่างๆ ให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ทำให้ต้องใช้จ่ายงบประมาณเป็นจำนวนมาก ในขณะที่กฎหมายให้อำนาจกรุงเทพมหานครประกอบการพาณิชย์เพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น แต่ปรากฏว่ารายได้จากการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานครมีจำนวนไม่ถึง 0.2% ของรายได้ทั้งหมด ทำให้ต้องพึ่งพารายได้หลักจากรัฐบาล จากการศึกษาวิจัยพบว่าการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานครมีจำกัดเพียงไม่กี่ประเภท การบริหารจัดการอยู่ภายใต้การควบคุมของกรุงเทพมหานคร โดยอิงระบบและระเบียบของทางราชการ ทำให้การบริหารงานขาดความคล่องตัว ล่าช้า ซึ่งไม่เหมาะสมกับการดำเนินกิจการทางธุรกิจ ดังนั้นการเลือกประเภทการพาณิชย์ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน พร้อมกับการพัฒนาการจัดการและรูปแบบการประกอบการพาณิชย์โดยร่วมกับเอกชน หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่มอื่น ในรูปของ "วิสาหกิจมหาชนส่วนท้องถิ่น" โดยการจัดตั้ง "บริษัท" ซึ่งทำให้องค์กรมีฐานะเป็น "นิติบุคคล" และเรียกเก็บ "ค่าบริการ" ตามหลักผู้รับประโยชน์จากบริการของรัฐ จะทำให้การพาณิชย์มีจำนวนเพิ่มขึ้น และมีความคล่องตัวมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดภาระในการดำเนินงานและค่าใช้จ่ายของกรุงเทพมหานครแล้ว กรุงเทพมหานครยังจะมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเงินปันผล ซึ่งสามารถนำไปใช้จ่ายในกิจการอื่นๆ ต่อไปได้ด้วย แต่เนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มาตรา 94 บัญญัติให้อำนาจกรุงเทพมหานครในการก่อตั้งบริษัทได้เฉพาะกิจการสาธารณูปโภคเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องดำเนินการแก้ไขพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มาตรา 94 โดยเพิ่มเติมความในวรรคท้าย ให้อำนาจกรุงเทพมหานครสามารถก่อตั้ง หรือ ถือหุ้นในบริษัทที่มีวัตถุประสงค์ในการประกอบการพาณิชย์เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีรายได้มากขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | One of the main duties and responsibilities of Bangkok Metropolitan Administration [BMA], which governs Bangkok Metropolitis, the capital city of Thailand, is to provide various public services to the people in its boundary. To achieve this task, BMA has to spend a lot of budgets and simultaneously BMA has lebal power to render the commercial enterprises to generate its income. It has been found that BMA's income derived from them is only 0.2% of its total income. Consequently, BMA is still obligated to mainly rely on the goverment subsidy. After having thoroughly studied and researched, it is appeared that BMA has operated only few types of commercial enterprises. Their operation and management under the BMA supervision based on the bureaucratic system, which leads to the ineffectiveness and tardiness, are not suitable to render its enterprises. Thus, the selection of appropriate commercial enterprises that responds to the local conditions and public needs with the development of management and types of commercial enterprise operation should be introduced. A joint-venture with other state agencies and private sectors in the form of public local enterprises by establishing a company as a juristic person to collect "service fees" from the users will also strengthen the enterprise performance and thus increase the number of their operation and income. Besides, BMA will received more income derived from divided to enable finance for other activities and simultaneously enhance BMA financial status. However, the section 94 of the BMA Act B.E. 2528 which stipulates that BMA can establish a company to render services of public utilities only, therefore, it should be amended by adding the last paragraph to enable this local administrative body to set up a company or hold shares in a company to render services of various commercial enterprises which will lead BMA to have more income. | en |
dc.format.extent | 1961409 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กรุงเทพมหานคร | en |
dc.subject | รัษฎากร -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en |
dc.subject | วิสาหกิจมหาชน | en |
dc.subject | บริการสาธารณะ | en |
dc.subject | พระราชบัญญัติระเบียบบริหาราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 | en |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดหาและพัฒนาที่มาของรายได้ ของกรุงเทพมหานคร : ศึกษาเฉพาะกรณีการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | The legal measurement on Bangkok Metropolitan Administration [BMA] revenue requisition and its sources development : a case study on BMA enterprises | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwannee.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.