Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10214
Title: พิธีกงเต๊ก : ระบบสัญลักษณ์และระบบเครือญาติของชาวจีนแต้จิ๋วในเยาวราช
Other Titles: Kongtek : Chaozhou Chinese symbol and kinship systems in Yaovarat
Authors: ธรรญาภรณ์ วงศ์บุญชัยนันท์
Advisors: ปรีชา คุวินทร์พันธุ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: กงเต๊ก
ชาวจีน -- ไทย -- กรุงเทพฯ
ชาวจีน -- พิธีศพ
พิธีศพ
ชาวจีน -- เครือญาติ
เยาวราช (กรุงเทพฯ)
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: พิธีกงเต๊กเป็นพิธีกรรมชีวิตที่เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของพิธีศพของชาวจึน เพื่อแสดงถึงความกตัญญูของลูกหลานที่มีต่อบรรพบุรุษของตน นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างครอบครัวจึน ที่มีการกำหนดบทบาทของสมาชิกในครอบครัวและสายตระกูลได้อย่างชัดเจน พิธีกงเต๊กยังสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมและความเชื่อของชาวจีน ที่ถือว่าการทำกงเต๊กเป็นการตอบแทนผู้ตายให้มีความเป็นอยู่อย่างสุขสบาย เช่นเดียวกับตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ดังที่เห็นจากการประกอบพิธีครบตามขั้นตอนต่างๆ 10 ขั้นตอนที่เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความกตัญญูที่มีต่อผู้ตาย การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทำให้มีการปรับเปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในพิธีกงเต๊กให้เข้ากับสภาพแวดล้อมภายนอก การเสื่อมสลายของระบบครอบครัวจีนเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่มีผลให้ค่านิยมในการประกอบพิธีกงเต๊กมีแนวโน้มที่จะลดความสำคัญลง อันเป็นผลมาจากการผสมกลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรมระหว่างจีนกับไทย เช่นมีการใช้โลงศพแบบไทยแทนโลงศพแบบจีน และมีการเผาศพแบบไทยแทนการฝังศพแบบจีนมากขึ้น อย่างไรก็ตามการประกอบพิธีกงเต๊ก แม้จะมีจำนวนลดลงและอาจสูญหายไปได้ในที่สุด แต่ในปัจจุบันก็ยังคงเป็นพิธีกรรมที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของชาวจีน ค่านิยมในเรื่องความกตัญญูและความผูกพันระหว่างครอบครัวและสายตระกูล
Other Abstract: Kongtek as a rite of passage is an important part of Chinese funeral performance to express gratitude of the Chaozhou Chinese descendents to the departed one. Kongtek also reflects the family and kinship structure of the Chinese emphasizing the roles of its members in the structure. Chinese values and beliefs in the performing of Kongtek ritual express the good wish of the family members to the departed to live happily in the other world as it had been in this world. This can be seen through the performance of the 10 ritual steps as symbols of gratitude to the dead. Social and economic changes at present affect the performance of both the adaptation of steps and styles of the ritual. The decline of chinese extended family leads to the decarease in number of Kongtek performances among Chinese families in Bangkok. Social and cultural assimilation between Chinese and Thai, such as the use of Thai coffins instead of Chinese coffins and the Thai cremation instead of Chinese burial also play an important role in the decreasing member of the Kongtek performance adopted at present. However, although the performance has been decreasing and might be vanished eventually, it is still a symbol through which Chinese identity, value of gratitude and the importance of family and clan ideology are preserved and expressed.
Description: วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: มานุษยวิทยามหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: มานุษยวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10214
ISBN: 9741754566
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanyaporn.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.