Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ หนูไพโรจน์-
dc.contributor.authorอัมพุชินี พัฒนกำจร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-10-07T04:08:36Z-
dc.date.available2009-10-07T04:08:36Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740304303-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11453-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractในปัจจุบันความต้องการใช้อินเตอร์เนตเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เว็บแคชจึงถูกเสนอขึ้นมา เพื่อช่วยลดปริมาณการใช้ช่องสัญญาณเครือข่าย และลดเวลาที่ใช้ในการร้องขอเอกสารให้กับผู้ใช้ ด้วยเหตุนี้เอง เว็บแคชจึงจำเป็นต้องคงความต้องกันของเอกสารที่เก็บภายในเว็บแคช และหลีกเลี่ยงการส่งเอกสารที่หมดอายุให้กับผู้ร้องขอ ซึ่งวิธีการคงความต้องกันของเอกสารที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ วิธี Adaptive TTL ซึ่งวิธีนี้เว็บแคชจะคำนวณค่า TTL ให้กับเอกสารที่เก็บอยู่ในเว็บแคช และเมื่อมีผู้ร้องของเอกสารที่มีค่า TTL หมดอายุ เว็บแคชจะส่งข้อความการร้องขอแบบไอเอ็มเอส ไปยังเซิร์ฟเวอร์ปลายทางที่เก็บเอกสารนั้น เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ถ้าเอกสารที่อยู่ในแคชไม่ตรงกับเอกสารที่เก็บอยู่บนเซิร์ฟเวอร์ปลายทาง เซิร์ฟเวอร์ปลายทางจะส่งเอกสารใหม่กลับมายังเว็บแคช และเว็บแคชจะเก็บเอกสารใหม่แทนที่เอกสารเดิม แล้วจัดส่งเอกสารให้กับผู้ร้องขอต่อไป ในทางตรงกันข้าม ถ้าเอกสารที่อยู่ในแคชตรงกับเอกสารที่อยู่บนเซิร์ฟเวอร์ปลายทาง จะทำให้เปลืองช่องสัญญาณเครือข่าย และผู้ร้องขอต้องใช้เวลาในการรอเอกสารมากกว่าปกติ ทั้งๆ ที่เอกสารที่ต้องการเก็บอยู่ในเว็บแคชอยู่แล้ว ในวิทยานิพนธ์นี้จึงได้นำเสนอการทดสอบการจำลองการทำงานของแคช ในการส่งข้อความการร้องของแบบไอเอ็มเอสล่วงหน้า กับข้อมูลการใช้เว็บจริงจากแคชของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้งศึกษาลักษณะการหมดอายุของค่า TTL ของเอกสารที่มีการร้องขอมาก โดยในการจำลองการทำงานของแคช จะส่งข้อความการร้องขอแบบไอเอ็มเอสล่วงหน้าสำหรับเอกสาร ที่เก็บอยู่ในแคชและมีค่า TTL จะหมดอายุในช่วงเวลาที่มีการใช้งานเว็บมาก เพื่อลดปริมาณการใช้ช่องสัญญาณเครือข่าย และเวลาที่ใช้ในการร้องขอในช่วงเวลาที่มีการใช้งานเว็บมาก ในงานวิทยานิพนธ์นี้จะส่งข้อความการร้องขอแบบไอเอ็มเอสล่วงหน้า ในช่วงเวลา 5.00 น. ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีการใช้งานเว็บน้อยที่สุดในรอบวัน ผลการจำลองการทำงานของเว็บแคช พบว่า ปริมาณการร้องขอแบบไอเอ็มเอส ปริมาณการใช้ช่องสัญญาณเครือข่าย และเวลาที่ใช้ในการร้องขอเอกสารลดลง แต่ลดลงในปริมาณที่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับปริมาณที่คาดหวังไว้ เนื่องจากเอกสารที่มีการร้องขอมากเป็นเอกสารที่มีค่า TTL น้อย ดังนั้นไม่ว่าเอกสารจะถูกส่งข้อความการร้องขอ แบบไอเอ็มเอสล่วงหน้าหรือไม่ เอกสารยังคงหมดอายุในช่วงเวลาที่มีการใช้เว็บมากอยู่ จึงทำให้การส่งข้อความการร้องขอแบบไอเอ็มเอสล่วงหน้าไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควรen
dc.description.abstractalternativeNowadays, the World-Wide Web has experienced phenomenal growth. Web caches have been proposed to reduce network traffic and provide better response time. One of basic constraints of web caching is that web caches must try to keep cached pages up to date with the master copies of those pages and to avoid returning stale pages to users. The most popular consistency scheme is "Adaptive TTL" which calculate TTL value for each document in web caches. When users request the pages that have been expired, Web caches will send If-Modified-Since messages to the originated server to check the pages. If the documents that are cached in web caches are not up-to-date, the originated servers will send the new copies to web caches. In the contrary, if the documents that are cached in web caches are up-to-date, the If-Modified-Since messages are useless. In this case, the consistency mechanism increases both network traffic and slowdown users' response time. In this thesis, we have introduced the proactive ims-based web cache consistency scheme which has been designed to improve the Adaptive TTL Scheme. We have studied the effectiveness of our scheme using empirical traces from the office of Information Technology of Chulalongkorn University. In addition we have studied the trend of expired TTL value. In our experiments, we send If-Modified-Since message at 5.00 a.m., the period with least traffic usage, for the documents that will be expired during the heavy traffic period of the day to reduce bandwidth and user's response time. Our result indicate that number of requests, bandwidth usage and users' response time slightly improve. This is because most popular documents have short TTL values. Thus, the proactive ims-based could not reduce all If-Modified-Since message in the heavy traffic period.en
dc.format.extent1040867 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอชทีทีพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectเวิลด์ไวด์เว็บen
dc.subjectอินเตอร์เน็ตen
dc.titleการศึกษาวิธีการคงความต้องกันของเอกสารในเว็บแคช โดยใช้วิธีการส่งข้อความการร้องขอแบบไอเอ็มเอสล่วงหน้าen
dc.title.alternativeThe study of the proactive IMS-based web cache consistency schemeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ampuchinee.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.