Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเฟื่องฟ้า อุ่นอบ-
dc.contributor.authorอภิชาติ อิ่มยิ้ม-
dc.contributor.authorวัลภา เอื้องไมตรีภิรมย์-
dc.contributor.authorปกรณ์ วรานุศุภากุล-
dc.contributor.authorพุทธรักษา วรานุศุภากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-01-05T11:55:27Z-
dc.date.available2010-01-05T11:55:27Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11920-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้พัฒนาเทคนิคที่ใช้ในการสกัดโลหะเพื่อการวิเคราะห์โลหะในตัวอย่างเนื้อปลา โดยเสนอวิธีการสกัดโลหะแดคเมียม ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และสังกะสีในสารละลายตัวอย่างด้วยเทคนิคการสกัดด้วยเฟสของแข็ง โดยใช้ถ่านกัมมันต์ร่วมกับแอมโมเนียม ไพโรริดีนไดไทโอคาร์บาเมต และวิเคราะห์หาปริมาณโลหะด้วยเทคนิคอะตอมมิกแอบซอร์บชันสเปกโทรเมตรี โดยศึกษาวีการสกัดสองวิธีคือ การสกัดโลหะด้วยถ่านกัมมันต์ที่เคลือบด้วยแอมโมเนียมไพโรริดีนไดไทโอคาร์บาเมต และการสกัดสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะและแอมโมเนียมไพโรริดีนไดไทโอคาร์บาเมตด้วยถ่านกัมมันต์ ศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดโลหะโดยทดสอบกับสารละลายมาตรฐานก่อนจะนำไปใช้กับตัวอย่างเนื้อปลา เมื่อนำวิธีการสกัดโลหะทั้ง 2 วิธีมาใช้วิเคราะห์ตัวอย่างเนื้อปลาพบว่า การสกัดโลหะโดยการทำให้โลหะเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนกับแอมโมเนียมไพโรริดีนไดไทโอคาร์บาเมต ก่อนจะผ่านคอลัมน์บรรจุถ่านกัมมันต์ ให้ผลดีกว่า จึงได้พัฒนาวิธีการนี้ต่อไปโดยศึกษาอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ เช่น อัตราการไหล ปริมาณของแอมโมเนียมไพโรริดีนไดไทโอคาร์บาเมต และค่าความเป็นกรด-เบส ต่อการสกัดโลหะ ตรวจสอบการนำไปใช้ได้ของวิธีด้วยการเติมโลหะแคดเมียม ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และ สังกะสี ชนิดละ 1 ไมโครกรัม ลงในเนื้อปลา 1 กรัม ก่อนจะวิเคราะห์ปริมาณโลหะด้วยวิธีการที่นำเสนอ ผลการทดลองพบว่าในการวิเคราะห์โลหะแคดเมียม ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และสังกะสี จะมีความเที่ยงในการวิเคราะห์ (%RSD) ในช่วง 0.6-15.3% มีความแม่นในการวิเคราะห์ (%Recovery) อยู่ในช่วง 82-101% และขีดจำกัดต่ำสุดในการวิเคราะห์อยู่ในช่วง 10.1-13.4 ไมโครกรัม/กก. เนื้อปลาen
dc.description.abstractalternativeA method for metal extraction from sample solution was developed for the determination of Cd, Cu, Ni, Pb and Zn in fish tissue. Ammonium pyrrolidinedithiocarbamate (APDC) and activated carbon were used in metal extraction by solid phase extraction, followed by determination of metal concentrations by atomic absorption spectrometry. Two methods of metal extraction are proposed : (i) metal extraction using column containing activated carbon impregnated with APDC and (ii) extraction of metallic complexes on an activated carbon column. The optimum conditions were investigated and tested with model solutions prior to application to sample solution from fish tissue. It was found that the extraction of metallic complexes on activated carbon column was more efficient than the extraction using impregnated activated carbon column. The method was further developed. The influence of various parameters such as flow rate, amount of APDC and pH on metal extraction was investigated. Finally, the proposed method was validated. The %RSD and % recovery were within the range of 0.6-15.3% and 82-101%, respectively. The method detection limit for the determination of Cd, Cu, Ni, Pb and Zn was in the range of 10.1–13.4 microgram/kg fish tissue.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2550en
dc.format.extent2924521 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโลหะหนัก -- การวิเคราะห์en
dc.subjectเนื้อปลา -- การปนเปื้อนen
dc.subjectการสกัด (เคมี)en
dc.titleการพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์หาปริมาณโลหะในเนื้อปลา : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeDevelopment of the determination of trace heavy metals in fishen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fuangfa_Dev.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.