Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์-
dc.contributor.authorฐิติมา ทองศรีพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-02-15T07:25:48Z-
dc.date.available2010-02-15T07:25:48Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743339914-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12003-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการศึกษาผลกระทบของการเพิ่มปริมาณอินทรีย์สารจากน้ำทิ้งในนากุ้งที่มีต่อสัตว์หน้าดินในบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีได้ดำเนินการในช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2542 โดยทำการเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดิน คุณสมบัติดินตะกอนและคุณภาพน้ำทุก 2 เดือน ในจำนวนสถานีทั้งสิ้น 10 สถานี จากการศึกษาคุณสมบัติของดินตะกอนและคุณภาพน้ำบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีแสดงว่าบริเวณนี้ได้รับผลกระทบจากการเลี้ยงกุ้งโดยมีการสะสมปริมาณอินทรีย์วัตถุและปริมาณสารอาหารในดินตะกอนสูงมากและดินตะกอนมีความเป็นกรดสูง คุณภาพน้ำบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรียังอยู่ในเกณฑ์ปกติยกเว้นในช่วงที่มีการเลี้ยงกุ้งที่พบว่าคุณภาพน้ำต่ำลงโดยเฉพาะปริมาณความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี ปริมาณแอมโมเนียและปริมาณฟอสเฟตในน้ำจะสูงขึ้น ชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีพบทั้งหมด 41 ชนิด โดยมีไส้เดือนทะเลเป็นสัตว์หน้าดินกลุ่มเด่น ชนิดของสัตว์หน้าดินแตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่และคุณสมบัติของดินตะกอนและคุณภาพน้ำ ความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินในบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีพบว่ามีช่วงกว้างมากตั้งแต่ 31.99-4,200.10 ตัวต่อตารางเมตร โดยไส้เดือนทะเลเป็นกลุ่มสัตว์หน้าดินที่มีความหนาแน่นมากที่สุดถึงร้อยละ 63.38-95.54 ส่วนมวลชีวภาพของสัตว์หน้าดินมีความแตกต่างกันมากเช่นกันในช่วงระหว่าง 0.03-425.69 กรัมต่อตารางเมตร ความหนาแน่นและมวลชีวภาพของสัตว์หน้าดินพบมีค่าสูงสุดบริเวณต้นแม่น้ำที่มีการเลี้ยงกุ้งเพียงเล็กน้อย ความหนาแน่นและมวลชีวภาพของสัตว์หน้าดินมีความแตกต่างกันตามฤดูกาลโดยฤดูฝนซึ่งเป็นช่วงที่มีการเลี้ยงกุ้งพบสัตว์หน้าดินมีความหนาแน่นมากกว่าฤดูแล้ง ในขณะที่มวลชีวภาพของสัตว์หน้าดินในฤดูแล้งมีค่าสูงกว่าในฤดูฝนเนื่องจากพบกลุ่มหอยที่มีมวลชีวภาพสูง ปัจจัยแวดล้อมในบริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีที่มีผลต่อสัตว์หน้าดินโดยเฉพาะไส้เดือนทะเลคือความเค็มของน้ำ ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนปริมาณอินทรีย์ไนโตรเจนของดินตะกอน ปริมาณแอมโมเนียของดินตะกอน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินตะกอน ไส้เดือนทะเลชนิด Nereis sp. และชนิด Parheteromastus sp. เป็นตัวบ่งชี้ในสภาพน้ำที่มีความเค็มต่ำและดินตะกอนที่มีปริมาณอินทรีย์สารโดยเฉพาะปริมาณอินทรีย์คาร์บอน สารปริกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินตะกอนสูงen
dc.description.abstractalternativeImpacts of organic enrichment from shrimp farm effluent on benthic communities in Chanthaburi Estuary were investigated during November 1998 to September 1999. Benthic macrofauna, sediment properties and water quality were sampled on bimonthly basis in 10 stations along the Chanthaburi River. It can be concluded from the monitoring of sediment properties and water quality that the Chanthaburi estuary had received impacts from shrimp farming activities by the increases of the total organic content and nutrients in sediment which as reflected in the acidic soils. The water quality were within the Thailand National Water Quality Classification for aquaculture purposes. However during the intensive shrimp farming season, the water quality declined reflecting in the increases in the biochemical demand oxygen, ammonia and phosphate. A total of 41 macrofaunal species were collected with polyches as the the dominant group. Species composition of benthic macrofauna were different according to location, sediment properties and water quality. The densities of these benthos in the Chanthaburi estuary were recorded in the wide range of 31.99-4,200.10 individuals per squarementer, comprising of polychaetes in the range of 63.38-95.54 in percentage. The biomass recorded were also in the wide range of 0.03-425.69 grams per squarementer. The highest density and biomass were recorded from the head of estuary where there were few shrimp farms. Seasonal variations in the density and biomass of benthic macrofaun were pronounced. During the intensive shrimp aarming activities in the wet season, the density of benthos was higher than the dry season. However the highest biomass was recorded in the dry season due to the abundance of gastropods and bivalves. This study revealed that salinity, organic carbon, organic nitrogen, ammonia and available phosphorus in sediment were the major factors determining the species composition and distribution of the benthic communities in the Chanthaburi estuary. The two polychaetes, Nereis sp. and Parheteromastus sp. were proposed as the indicator species of fluctuating salinity and also the organic riched sediments of high organic carbon, nitrogen compound and available phosphorus content.en
dc.format.extent786694 bytes-
dc.format.extent888698 bytes-
dc.format.extent886263 bytes-
dc.format.extent1506707 bytes-
dc.format.extent1034144 bytes-
dc.format.extent740714 bytes-
dc.format.extent1160795 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกุ้ง -- การเลี้ยงen
dc.subjectน้ำทิ้งen
dc.subjectนากุ้งen
dc.subjectแม่น้ำจันทบุรีen
dc.subjectสัตว์หน้าดินen
dc.titleผลกระทบของการเพิ่มปริมาณอินทรีย์สารจากน้ำทิ้งในนากุ้งที่มีต่อสัตว์หน้าดิน บริเวณปากแม่น้ำจันทบุรีen
dc.title.alternativeImpacts of organic enrichment from shrimp farm effluent on benthic communities in Chanthaburi estuaryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Titima_Th_front.pdf768.26 kBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_ch1.pdf867.87 kBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_ch2.pdf865.49 kBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_ch3.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_ch4.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_ch5.pdf723.35 kBAdobe PDFView/Open
Titima_Th_back.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.