Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพล ดุรงค์วัฒนา-
dc.contributor.authorไพจิตร สิงหาโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2010-03-15T03:08:47Z-
dc.date.available2010-03-15T03:08:47Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741734085-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12189-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาและเปรียบเทียบการประมาณค่าพารามิเตอร์สำหรับปัจจัยคงที่ ในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 2 วิธี คือ วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด (Maximum Likahood Estimation) และวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares Method) โดยข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์เป็นข้อมูลระยะยาว ซึ่งสนใจศึกษากรณีที่ลักษณะของความคลาดเคลื่อนเป็นอิสระกัน การวิจัยครั้งนี้ได้จำลองข้อมูลด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลโดยใช้โปรแกรม Visual Basic 6 การเปรียบเทียบกระทำภายใต้สถานการณ์ของจำนวนปัจจัยทดลอง ขนาดหน่วยทดลองที่ใช้ และจำนวนครั้งของการเก็บข้อมูล และได้จำลองข้อมูลในกรณีที่ a = 2, 3 และ 4 ; n = 3, 4 และ 5 โดยที่ t = 2, 4 และ 6 สำหรับเกณฑ์ที่นำมาใช้ในการเปรียบเทียบค่าประมาณจากวิธีการทั้งสองแบบนั้น ได้ใช้วิธีการหาค่าระยะทางยุคลิดเฉลี่ยเป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ในกรณีที่จำนวนปัจจัยการทดลอง ขนาดหน่วยการทดลองที่ใช้และจำนวนครั้งของการเก็บข้อมูลมีค่าน้อย การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ให้ค่าระยะทางยุคลิดเฉลี่ยใกล้เคียงกับการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีภาวะ น่าจะเป็นสูงสุด ส่วนในกรณีที่จำนวนปัจจัยทดลอง ขนาดหน่วยทดลองที่ใช้และจำนวนครั้งของการเก็บข้อมูลมีค่ามาก การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ให้ค่าระยะทางยุคลิดเฉลี่ยสูงกว่า การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด นั่นคือการประมาณค่าพารามิเตอร์ของตัวแบบปัจจัยคงที่ สำหรับแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ กรณีข้อมูลระยะยาวและมีลักษณะความคลาดเคลื่อนเป็นอิสระกันด้วยวิธีภาวะน่าจะ เป็นสูงสุด จะให้ค่าประมาณโดยส่วนใหญ่ดีกว่าการประมาณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo compare two methods of parameters estimation for a fixed-effect completely randomized design with longitudinal data; maximun likelihood estimation and ordinary least square method. Monte Carlo simulation is done through Visual Basic 6.0 Code. It is simulated under several situations due to the number of levels for treatment, the number of levels for period, the number of replication for each treatment combination of the observed data. In this study, the simulation is specified at a=2, 3 and 4 ; n=3, 4 and 5 when t=2, 4 and 6 respectively. The average of Euclidean distance between the vector of parameter estimates and the vector of true values is a criteria for comparison between both methods. The result of the study shows that parameter estimates for each parameter using maximum likelihood estimation for the number of levels for treatment, the number of levels for period, the number of replication for each treatment combination of the observed data greater than; provides shortor averaged distance than the one from the ordinary least square method. When the number of levels for treatment, the number of levels for period, the number of replication for each treatment combination of the observed data less than; the distance from the maximum likelihood estimation is not difference the one from the ordinary least square method.en
dc.format.extent758417 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.432-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประมาณค่าพารามิเตอร์en
dc.subjectความน่าจะเป็นen
dc.subjectวิธีกำลังสองน้อยที่สุดen
dc.subjectการออกแบบการทดลองen
dc.titleการประมาณค่าพารามิเตอร์สำหรับแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ปัจจัยคงที่ กรณีข้อมูลระยะยาวen
dc.title.alternativeParameters estimation for a fixed-effect completely randomized design with longitudinal dataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected], [email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.432-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phaijit.pdf740.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.