Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1224
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันเฉลิม โปรา | - |
dc.contributor.author | พหล ศิริเหลืองทอง, 2520- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-29T07:59:06Z | - |
dc.date.available | 2006-07-29T07:59:06Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9740311385 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1224 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอเครื่องกำจัดผีในสัญญาณโทรทัศน์ระบบ PAL ที่ใช้สัญญาณอ้างอิงสำหรับกำจัดผี (GCR Signal) ตามมาตรฐาน ITU-R BT 1124 ส่วนประกอบสำคัญของเครื่องกำจัดผีคือ วงจรกรองเอฟไออาร์แบบปรับตัว (Adaptive FIR Filters) ซึ่งพัฒนาบนชิพเอฟพีจีเอของบริษัท Xilinx เบอร์ XCV300E-6 เทคนิคการใช้ทรัพยากรร่วม (Resource sharing) ช่วยประหยัดทรัพยากรที่ใช้สร้างวงจรกรองได้มากถึง 6 เท่า การคำนวณหาสัมประสิทธิ์ของวงจรกรองแบบปรับตัวใช้ชิพประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (DSP Chip) ของบริษัท Texas Instruments เบอร์ TMS320C6211 เลือกใช้กระบวนวิธีค่าเฉลี่ยกำลังสองน้อยที่สุด (LMS : Least Mean Square) ในการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ของวงจรกรองที่เหมาะสม เครื่องจำลองการเกิดผีอย่างง่ายได้ถูกพัฒนาขึ้นด้วยการใช้แท็ปสายประวิง (Delay Line) เพื่อใช้ในการทดสอบการทำงานของเครื่องกำจัดผีในสัญญาณโทรทัศน์ผลการทดสอบพบว่าสามารถกำจัดผีได้ภายในเวลา 4 วินาที เมื่อผีมีความแรงของสัญญาณไม่เกิด -6dB และมีเวลาประวิงไม่เกิน 10 microsecond เทียบกับสัญญาณหลัก | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis presents a PAL TV ghost canceller that employs a ghost cancellation reference signal (GCR Signal) recommended by the ITU-R BT. 1124 standard. The ghost canceller consists of an adaptive FIR filter, which is developed on a Xilinx FPGA, XCV300E-6. The resource sharing technique is exploited. It reduces required hardware resource by six times. A DSP chip, TMS320C6211, is chosen to optimize the parameters of the fillter according to the LMS (Least Mean Square) algorithm. We also developed a ghost generator using delay line for testing the TV ghost canceller. Experiments show that the ghost canceller can visually cancel the ghost in 4 seconds if the ghost power is not more than -6 dB and its delays are not more than 10 microsecond, compared to that of the main signal. | en |
dc.format.extent | 2063482 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โทรทัศน์ | en |
dc.subject | วงจรกรอง | en |
dc.subject | การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาลอค | en |
dc.subject | การประมวลสัญญาณ | en |
dc.title | เครื่องกำจัดผีในสัญญาณโทรทัศน์โดยใช้วงจรกรองเอฟไออาร์แบบเอฟพีจีเอ | en |
dc.title.alternative | TV ghost canceller using FPGA-based fir filters | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.