Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12761
Title: | องค์ประกอบที่ส่งเสริมพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | Factors affectting the practice ecotourism among university students in Bangkok |
Authors: | ศกลวรรณ พาเรือง |
Advisors: | พัชนี เชยจรรยา |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | การสื่อสาร การเปิดรับข่าวสาร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นักศึกษา |
Issue Date: | 2540 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิเคราะห์องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของนิสิตนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯ โดยการสุ่มตัวอย่างจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 450 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบจากปัจจัยการใช้เวลาว่าง 16 กิจกรรมของนิสิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานคร พบว่าสามารถจัดองค์ประกอบได้ 2 องค์ประกอบ คือ กิจกรรมที่ต้องลงมือกระทำ (Active Activity) และกิจกรรมที่ไม่ต้องลงมือกระทำ (Passive Activity) 2. ลักษณะปัจจัยทางประชากรศาสตร์ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของนิสิตนักศึกษา คือ ตัวแปรชั้นปี, สาขาวิชา, ภูมิลำเนา และบุคคลที่พักอาศัยด้วย 3. กิจกรรมที่ต้องลงมือกระทำ (Active Activity) มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 5. ความรู้ในประเด็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ไม่พบความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ |
Other Abstract: | To analyze factors related to ecotourism practice among university students in Bangkok. Data were randomly collected from 450 samples of university students in Bangkok. Results are as follows : 1. Factors analysis were used to analyze 16 activities among university student. Two factors, active activity and passive activity were found. 2. Factors related to ecotourism practice are demographic characteristic i.e. year in college, field of studying, place of origin and living condition. 3. Active activities was also found to correlated with the practive of ecotourism among respondents. 4. Exposure to information from the T.A.T. is related to the practice of ecotourism among this group of respondents. 5. No correlation was found between knowledge regarding ecotourism and ecotourism practice. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 |
Degree Name: | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิเทศศาสตรพัฒนาการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12761 |
ISBN: | 9746378163 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Skonwan_Pa_front.pdf | 340.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_ch1.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_ch2.pdf | 918.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_ch3.pdf | 443.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_ch4.pdf | 722.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_ch5.pdf | 938.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Skonwan_Pa_back.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.