Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1348
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุล-
dc.contributor.authorนิตินัย ชัยเชื้อ, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-02T07:06:57Z-
dc.date.available2006-08-02T07:06:57Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741711603-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1348-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการเคลื่อนตัวของดินอันเนื่องมาจากการก่อสร้างอุโมงค์ โดยใช้หัวเจาะเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ การเกิดช่องว่างระหว่างมวลดินกับผิวของหัวเจาะที่บริเวณส่วนหางของหัวเจาะ เป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวขึ้น โดยการเคลื่อนตัวของดินที่อยู่รอบๆ ผิวของหัวเจาะจะทำให้หน่วยแรงที่ถ่ายไปยังดาดอุโมงค์มีค่าลดลง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะการทรุดตัวที่ผิวดินอันเนื่องมาจากการขุดเจาะอุโมงค์ในชั้นดินเหนียว ที่มีลักษณะแบบชั้นดินเหนียวกรุงเทพฯ และหาความสัมพันธ์ระหว่างการสูญเสียมวลดิน กับสภาวะของหน่วยแรงรอบอุโมงค์ที่เกิดขึ้นบริเวณส่วนหางของหัวเจาะ ในรูปของค่าอัตราส่วนของหน่วยแรงที่สูญหาย ต่อหน่วยแรงเริ่มต้นก่อนที่จะมีการขุดเจาะ ซึ่งปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ดังกล่าวคือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอุโมงค์ และความลึกจากผิวดินถึงตำแหน่ง crown ของอุโมงค์ โดยใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ในการจำลองการขุดเจาะและติดตั้งดาดอุโมงค์ในชั้นดิน ที่มีสภาพแบบชั้นดินเหนียวกรุงเทพฯ ในสภาพไม่ระบายน้ำ ผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นว่าตัวแปรต่างๆ ซึ่งคือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอุโมงค์ และความลึกของอุโมงค์ มีผลกระทบต่อการทรุดตัวที่ผิวดินอย่างไร และได้เสนอความสัมพันธ์ที่อยู่ในรูปของ ค่าการสูญเสียมวลดินซึ่ง normalize ด้วยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยกกำลังค่าคงที่ค่าหนึ่ง กับค่าหน่วยแรงที่สูญหายซึ่งถูก normalize ด้วย ค่ากำลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำเฉลี่ยยกกำลังค่าคงที่ค่าหนึ่ง ซึ่งได้ความสัมพันธ์แบ่งออกเป็นสองช่วง แบ่งตามค่าของ การสูญเสียมวลดินที่ถูก normalize แล้วen
dc.description.abstractalternativeOne of the main causes that induce ground movement during tunnelling is a void formed around the tail of the shield. The void leads to ground surface settlement and decreasing in liner stresses. The purposes of this research are to study the ground surface settlement caused by shield tunnelling in Bangkok subsoil and to form a correlation between ground loss and stress state around tunnel. The stress state expresses in the form of proportion of stress distributed to soil around the tunnel and initial stress before excavation is called stress relaxation. The finite element method is used to simulate tunnelling procedure. The principal factors are diameter and depth of the tunnel under undrained condition. The result was presented in the form of the relationship between ground loss normalized by tunnel diameter to the power of a constant and the stress relaxation normalized by the average undrained shear strength to the power of another constant. It can be divided into two parts depending on the normalized ground loss.en
dc.format.extent3153102 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการขุดเจาะen
dc.subjectอุโมงค์en
dc.subjectดิน -- การทรุดตัวen
dc.subjectปฐพีกลศาสตร์en
dc.titleความสัมพันธ์ของการสูญเสียมวลดินกับสภาวะหน่วยแรงรอบอุโมงค์en
dc.title.alternativeCorrelation between ground loss and stress state around tunnelen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitinai.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.