Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13879
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พรพิมล ตรีโชติ | - |
dc.contributor.author | สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี | - |
dc.contributor.author | วัชรินทร์ ยงศิริ | - |
dc.contributor.author | ทรงฤทธิ์ โพนเงิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา | - |
dc.contributor.other | หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา | - |
dc.contributor.other | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.coverage.spatial | เวียดนาม | - |
dc.coverage.spatial | กัมพูชา | - |
dc.coverage.spatial | ลาว | - |
dc.coverage.spatial | พม่า | - |
dc.date.accessioned | 2010-11-11T08:56:22Z | - |
dc.date.available | 2010-11-11T08:56:22Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13879 | - |
dc.description | สมาชิกใหม่ของอาเซียนและภัยคุคาม -- ความมั่นคงของเวียดนาม : สภาพแวดล้อมของการเมืองระหว่างประเทศ ; ภัยคุกคามจากภายใน ; ขีดความสามารถทางการเมืองของรัฐ ; ขีดความสามารถของกองทัพ ; สมรรถนะในการรักษาความมั่นคงหลังการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน -- ความมั่นคงของพม่า : วิวัฒนาการการเมืองพม่า จุดกำเนิดภัยคุกคามภายในประเทศ ;ภัยคุคามรูปแบบใหม่ ; ศักยภาพของรัฐบาลพม่าในการป้องกันและจัดการกับภัยคุกคาม ; พม่ากับอาเซียน -- ความมั่นคงของลาว : จากสงครามเย็นสู่โลกาภิวัตน์ ; สิ่งท้าทายและข้อขัดแย้งกับต่างประเทศ ; ปัญหาเกี่ยวกับฝ่ายต่อต้านรัฐบาลลาว ; รัฐบาลใต้ดินขู่วางระเบิดในลาว ; สาละวนปัญหาด้วยม้งลาว-ม้งไทย ; ประชาสังคมกับความมั่นคง ; ความมั่นคงของรัฐและพรรคคอมมิวนิสต์ --ความมั่นคงของกัมพูชา : โครงสร้างและสภาพแวดล้อมทางการเมืองของกัมพูชา ; สภาพแวดล้อมทางการเมืองของกัมพูชาในช่วงการเลือกตั้งทั่วไปปี ค.ศ. 2003 ; กองทัพกัมพูชากับบทบาทและนโยบายการป้องกันประเทศ ; ภัยคุกคามความมั่นคง ; การเกิดขึ้นและความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม ; การเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนของกัมพูชา | en |
dc.description.abstract | ศึกษาสมรรถภาพของประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียนทั้ง 4 ประเทศคือ เวียดนาม พม่า ลาว และกัมพูชา โดยมองว่า รัฐมีสมรรถภาพในการรับมือกับปัญหาความมั่นคงของประเทศมากน้อยเพียงใด การมองปัญหาความมั่นคงนั้นจะมองทั้งในสองมิติ คือ มิติความมั่นคงแบบดั้งเดิม คือ ความมั่นคงในมุมมองของรัฐและภาคประชาสังคม ส่วนมิติความมั่นคงอีกแบบหนึ่งนั้น คือ ความมั่นคงที่ไม่ใช่แบบจารีตประเพณี หรือในความหมายทั่วไปคือ ความมั่นคงแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ปัญหาของรัฐ หากแต่เป็นปัญหาของประชาชน หรือความมั่นคงมนุษย์ งานวิจัยชิ้นนี้พบว่า ประเทศสมาชิกใหม่มีสมรรถนะในการจัดการกับความมั่นคงแบบดั้งเดิมได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะพม่า พบว่ารัฐได้เพิ่มความเข้มแข็งในด้านทหารเพื่อจัดการกับภัยคุกคามของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ในขณะที่การบริหารจัดการในส่วนของความมั่นคงของมนุษย์กลับไม่สู้ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก ในส่วนของเวียดนาม กัมพูชาและลาว ซึ่งเป็นประเทศสังคมนิยม สมรรถภาพในการจัดการเรื่องความมั่นคงแห่งรัฐมีประสิทธิภาพสูง หากแต่เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดการกับความมั่นคงของมนุษย์แล้ว ยังคงมีพื้นที่ให้ปรับปรุงอีกมากมาย งานวิจัยนี้ไม่ได้มองจากมุมของอาเซียนในฐานะที่เป็นองค์กรแต่อย่างไร หากเน้นการศึกษาว่า การเข้าเป็นสมาชิกใหม่ของอาเซียนจะช่วยทำให้สมรรถภาพของรัฐทั้ง 4 เข้มแข็งขึ้นมากน้อยประการใด และจะมีสมรรถภาพในการจัดการกับความมั่นคงได้มีประสิทธิภาพเพียงใด พบว่า การเข้าเป็นสมาชิกของอาเซียนสามารถช่วยเสริมประสิทธิภาพในการรับมือและจัดการกับปัญหาความมั่นคงของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องเพราะกลไกต่างๆ ของอาเซียนมีส่วนในการเอื้ออำนวยและให้ความร่วมมือ หากแต่ในเรื่องของความมั่นคงของรัฐนั้น ประเทศทั้ง 4 ล้วนมีสมรรถภาพที่มีประสิทธิภาพมั่นคงอยู่แล้ว โดยไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากอาเซียนแต่ประการใด | - |
dc.description.abstractalternative | The research work on “Political security and capability of new ASEAN members : a case study of Vietnam, Cambodia, Laos and Myanmar” is a study on new members of ASEAN to see how well they can handle the state security. As for the security, there are two dimensions to study, one is the traditional security perceived by state and also the civil society and the other is non-traditional security which related to human security in the society which is quite a new term and new phenomenal that state has to face nowadays. The finding in this research is that state capability to handle and manage the traditional security is very efficient especially in the case of Myanmar. Myanmar has developed the strongest army in Southeast Asia, second from Vietnam, in order to suppress the dissident groups in the country which are perceived as national threat to the state. As the same time, it was found that the capability to counter human security and other problems faced by the populations is quite inadequate and less efficient. As for Vietnam, Laos and Cambodia which still are socialist countries, it was found that states are very efficient to handle the traditional threat and security while rather weak when countered with non-traditional threats or human security. This research does not study ASEAN as an integrity organization but rather emphasize on each country to see how capable they are and to see if they are getting stronger once they joined ASEAN and how well they can handle the threats either the traditional threat and also the non-traditional threats. The research found that while joining ASEAN, the four states can make uses of all the humanitarian programs available in the organization to strengthen their mechanists to handle and manage the non-traditional threats much better, while the capability to handle and suppress state’s traditional threats is already efficient, in this case, they do not need any help from ASEAN at all. | - |
dc.format.extent | 30357385 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กลุ่มประเทศอาเซียน -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.subject | เวียดนาม -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.subject | กัมพูชา -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.subject | ลาว -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.subject | พม่า -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.title | ความมั่นคงและสมรรถนะทางการเมืองของประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน : ศึกษากรณีเวียดนาม กัมพูชา ลาว และพม่า | en |
dc.title.alternative | Political security and capacity of new ASEAN member : a case study on Vietnam, Combodia, Laos and Myanmar | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Asia - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pornpimon_ASEAN.pdf | 29.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.