Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสุรเทพ เขียวหอม-
dc.contributor.authorวีณา ชุติมานิตสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-23T13:01:54Z-
dc.date.available2011-09-23T13:01:54Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15942-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษากระบวนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์จากสารตั้งต้นที่แตกต่างกัน คือ นอร์มอล-บิวเทน นอร์มอล-เพนเทน และโพรเพน โดยการจำลองกระบวนการผลิตด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อศึกษาถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยประยุกต์ใช้หลักการประเมินวัฏจักรชีวิต เพื่อประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์ พิจารณาตั้งแต่ขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ (cradle-to-gate) ด้วยดัชนีชี้วัด IMPACT 2002+ ในโปรแกรม SimaPro พร้อมทั้งประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้ความไม่แน่นอนของข้อมูล และการดำเนินการในกระบวนการผลิต รวมถึงศึกษาการทำข่ายงานของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิต ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่า ในการผลิตโดยใช้นอร์มอล-บิวเทนเป็นวัตถุดิบ จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ทั้งในขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบและขั้นตอนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์ เมื่อพิจารณาแบบขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบกับขั้นตอนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์ร่วมกัน (cradle-to-gate) การผลิตโดยใช้นอร์มอล-บิวเทนเป็นวัตถุดิบมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า การผลิตโดยใช้นอร์มอล-เพนเทนเป็นวัตถุดิบที่ระดับความเชื่อมั่น 100% การผลิตโดยใช้โพรเพนเป็นวัตถุดิบส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ทั้งในขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบและขั้นตอนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์ ส่วนการทำข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน สามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบของกระบวนการผลิต โดยใช้นอร์มอล-บิวเทน โพรเพน และนอร์มอล-เพนเทนเป็นวัตถุดิบลงร้อยละ 5.45 12.62 และ 23.72 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeStudy on maleic anhydride production processes by using different raw materials, which are n-butane, n-pentane and propane. Process simulation is performed using commercial software. In order to study in environmental impacts, life cycle assessment is applied to evaluate environmental impacts of maleic anhydride production processes. Environmental impacts are evaluated according to cradle-to-gate approach by IMPACT 2002+ in SimaPro and assessed under uncertainty of data and operation of process. Moreover, heat exchanger network is applied in order to improve the production process. The result shows that the n-butane route is more environmentally favorable than n-pentane and propane route both in the raw material production phase and in the maleic anhydride production phase. In cradle-to-gate framework, the n-butane route has environmental impacts lower than of that the n-pentane route at 100% confidence level. The propane route has the highest environmental impacts both in the raw material production phase and in the maleic anhydride production phase. Heat exchanger network can decrease environmental impacts in the raw material production phase about 5.45, 12.62 and 23.72% for n-butane, propane and n-pentane route, respectively.en
dc.format.extent1840053 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1379-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมาลีอิกแอนไฮไดรด์en
dc.subjectวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์en
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตมาเลอิกแอนไฮไดรด์ โดยเครื่องมือการประเมินวัฏจักรชีวิตภายใต้ความไม่แน่นอนen
dc.title.alternativeDevelopment of maleic anhydride production process by life cycle assessment tool under uncertaintyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1379-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weena_ch.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.