Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสุรเทพ เขียวหอม-
dc.contributor.authorอรกมล เห็นชอบดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-01-22T02:01:07Z-
dc.date.available2012-01-22T02:01:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16555-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการผลิตไฟฟ้าความร้อนร่วมแก๊สซิฟิเคชั่น ด้วยวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต โดยพิจารณาสารป้อนที่เป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ได้แก่ แกลบ ฟางข้าว ชานอ้อย และกะลาปาล์ม และในงานวิจัยนี้ได้ประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิธี IMPACT 2002+ โดยแบ่งกลุ่มผลกระทบออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน และผลกระทบต่อการลดลงของทรัพยากร จากผลการศึกษาพบว่า ในกลุ่มผลกระทบต่อสุขภาพ มนุษย์การใช้ฟางข้าวเป็นสารป้อนมีผลกระทบมากที่สุด ในกลุ่มผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ และผลกระทบการลดลงทรัพยากรการใช้แกลบเป็นสารป้อนมีผลกระทบมากที่สุด ในกลุ่มการผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน การใช้กะลาปาล์มเป็นสารป้อนมีผลกระทบมากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeIn this work, the environmental Impacts of electric power production using an integrated gasification combined cycle (IGCC) is studied by a life cycle assessment. We consider feedstock of agriculture residues including rice husk, rice straw, sugar cane trash and coconut palm shell. In this work, IMPACT 2002+ is used as an indicator to assess environmental impacts comprising four categories including human health, ecosystem quality, global warming and non-renewable energy. The results show that rice straw feedstock has the highest environmental impacts in human health. Rice husk feedstock has the highest environment impacts both in ecosystem quality and non-renewable energy. Coconut palm shell feedstock has the highest environmental impacts in global warming.en
dc.format.extent1231597 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1316-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแกสซิฟิเคชันของชีวมวลen
dc.subjectโรงไฟฟ้าen
dc.subjectวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์en
dc.subjectของเสียทางการเกษตรen
dc.titleการประเมินวัฏจักรชีวิตความร้อนร่วมแก๊สซิฟิเคชั่นจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรen
dc.title.alternativeLife cycle assessment of IGCC (integrated gasification combined cycle) from agricultural residuesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1316-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
orngamol_he.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.