Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.advisorถนอม บรรณประเสริฐ-
dc.contributor.authorอภิเชษฏ์ ธนะเจริญกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-05T12:41:38Z-
dc.date.available2012-02-05T12:41:38Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16739-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractโครงร่างผิวหนังสังเคราะห์ได้มีการคิดค้นและผลิตขึ้นภายในศูนย์นวัตกรรมเซลล์และเนื้อเยื่อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ภายในศูนย์นวัตกรรมไม่มีระบบการบันทึกและตรวจสอบการผลิตที่ถูกต้อง ทำให้ไม่มีข้อมูลการผลิตและบันทึกที่ชัดเจนรวมถึงการตรวจสอบข้อมูลที่ทำได้ยากหรืออาจไม่สามารถทำได้เลย งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบันทึกข้อมูลและการตรวจสอบกลับ สำหรับการผลิตโครงร่างผิวหนังสังเคราะห์ภายในศูนย์นวัตกรรมเซลล์และเนื้อเยื่อ เพื่อที่จะสนับสนุนระบบคุณภาพการผลิตตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (GMP) สำหรับผลิตภัณฑ์โครงร่างผิวหนังสังเคราะห์ดังกล่าว ระบบตรวจสอบกลับและบันทึกดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นแบ่งเป็นสามส่วนใหญ่คือ ส่วนของคลังสินค้า ระบบติดตามการผลิต และส่วนของระบบเอกสาร ซึ่งสามระบบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อสามารถเข้าถึงเข้ามูลและสามารถตรวจสอบกลับได้โดยสมบูรณ์ การพัฒนาระบบ การออกแบบเริ่มที่วิธีการนำ Radio frequency identification (RFID) มาใช้งาน ซึ่งได้พบอุปสรรคการนำมาใช้หลายๆ อย่าง เนื่องจากวิธีการผลิตเฉพาะทางซึ่งต้องผ่านทั้งอุณหภูมิต่ำ บางขั้นตอนต้องทำในที่มืด รวมทั้งตัวผลิตภัณฑ์ซึ่งมีการเปลี่ยนสถานะระหว่างของเหลวไปเป็นของแข็ง ทำให้การออกแบบต้องเป็นไปด้วยความระมัดระวัง ขั้นต่อมาคือ การกำหนดรายละเอียดของเครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องอ่าน RFID, RFID Tag, คลื่นความถี่ที่ใช้ที่จำเป็น ซึ่งสามารถรองรับกับขั้นตอนที่ถูกออกแบบไว้และใช้ได้ในเงื่อนไขที่จำกัดของระบบ ซอฟต์แวร์ถูกพัฒนาเพื่อให้สามารถเข้าใจและเรียนรู้การใช้งานได้ง่ายและนำมาทดลองใช้จริง เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลต่างๆ ให้ครบถ้วน ผลทีได้จากการทดลองพบว่า ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจสูงในระดับ 83%en
dc.description.abstractalternativeDermal scaffold production is develop in Innovative cell and tissue engineering laboratory (i-Tissue) and but there is no production data and record procedure. Then, it is not possible to tracking the process data and impossible to access some data. The objective of this research is to design the tracking and record management database which can support the quality system (Good manufacturing practice) of dermal scaffold production in i-Tissue. The system in this research divides into 3 main parts: inventory system, process system and document system, which can provide record management and tracking ability of material and product during the production process. The system development started by designing and deploying and RFID system. However, the designed system was operated under the restricted factors and conditions such as the special environment of the production lines (clean, low temperature), the special characteristic of material (unknown quantity) and so on. After that, the suitable hardware devices such as RFID reader, RFID tag and Frequency were defined. Next, the software was carefully designed and developed for ease of use and learning. Last, the system was tested with the lab users and showed high user satisfaction rate up to 83%.en
dc.format.extent5478571 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1485-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุen
dc.subjectการออกแบบฐานข้อมูลen
dc.subjectการจัดการฐานen
dc.subjectเนื้อเยื่อสังเคราะห์en
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen
dc.subjectหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตen
dc.titleการออกแบบระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจสอบกลับและบันทึกสำหรับห้องทดลองผลิตโครงร่างเซลล์ ด้วยการระบุลักษณะคลื่นความถี่ด้วยคลื่นวิทยุen
dc.title.alternativeDesign of tracking and record management database system in scaffold production laboratory with radio frequency identificationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1485-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apichaet_th.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.