Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1682
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล | - |
dc.contributor.author | ชมพูนุช หาญนันทวิวัฒน์, 2522- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-11T09:30:57Z | - |
dc.date.available | 2006-08-11T09:30:57Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745316814 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1682 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรประกอบด้วยเซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส โดยโมเลกุลเหล่านี้สามารถูกย่อยสลายเป็นน้ำตาล (ไซโลส กลูโคส และอะราบิโนส) และน้ำตาลที่ได้สามารถเปลี่ยนเป็นสารไซลิทอล โดยสามารถนำไปใช้ในงานด้านอาหารและยา การไฮโดรไลซ์โมโลกุลของชานอ้อย เปลือกทุเรียน และฟางข้าว เพื่อให้เป็นน้ำตาลนั้นสามารถใช้ในการกำจัดกาก และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร วัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ เพื่อหาความเข้มข้นของกรดซัลฟูริก อุณหภูมิ และระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตน้ำตาล และผลของการฉายรังสีแกมมาร่วมกับกรดซัลฟูริก สภาวะที่เหมาะสมในการไฮโดรไลซ์ คือ 3% กรดซัลฟูริก ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส และใช้ระยะเวลา 30 นาที ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ที่ได้จากชานอ้อย เปลือกทุเรียน และฟางข้าว คือ 53.73%, 47.83% และ 49.83% ตามลำดับ การฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 100 kGy ร่วมกับการไฮโดรไลซ์ด้วยกรดที่ 3% กรดซัลฟูริก ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส และใช้ระยะเวลา 30 นาที พบว่าตัวอย่างชานอ้อยมีค่าเพิ่มขึ้นประมาณ 3% และเปลือกทุเรียนมีค่าเพิ่มขึ้นประมาณ 1% ส่วนฟางข้าวเพิ่มขึ้นประมาณ 1% ที่ 75 kGy | en |
dc.description.abstractalternative | Agricultural wastes are mainly composed of cellulose and hemicellulose which can be converted to sugars (xylose, glucose and arabinose) and then further produce xylitol, with a potential application in food and medical areas. The hydrolysis of sugar cane bagasse, rice straw and durian fruit hull to obtain sugars have a double consequence, the elimination of a waste and the generation of a value-added product. The objective of the study was to determine the effects of H[subscript2]SO[subscript 4] concentration, temperature and reaction time on the production of sugars. The effect of gamma irradiation with H[subscript 2]SO[subscript 4] were also investigated. The optimum H[subscript 2]SO concentration of 3% at 120 degree celsius and reaction time of 30 min were found in three samples studied. Under these conditions, 53.73%, 47.83% and 49.83% of reducing sugar were obtained, for sugar cane bagasse, durian fruit hull and rice straw, respectively. Irradiation with 100 kGy gamma ray followed by hydrolysis with 3% H[subscript 2]SO at 120 degree celsius for 30 min found that reducing sugar in sugar cane bagasse increase about 2% and durian fruit hull increase about 1%, while rice straw increase about 1% at 75 kGy. The amount of monosaccharide in three samples were also reported. | en |
dc.format.extent | 557540 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กรดกำมะถัน | en |
dc.subject | เซลลูโลส | en |
dc.subject | เฮมิเซลลูโลส | en |
dc.subject | ของเสียทางการเกษตร | en |
dc.subject | รังสีแกมมา | en |
dc.subject | การย่อยสลายทางชีวภาพ | en |
dc.title | การผลิตน้ำตาลจากการย่อยสลายโมเลกุลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร โดยใช้การฉายรังสีแกมมาร่วมกับกรดซัลฟูริก | en |
dc.title.alternative | Production of sugar from molecular degradation of agricultural waste by gamma-ray irradiation and sulfuric acid | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิวเคลียร์เทคโนโลยี | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chompunoot.pdf | 672.09 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.