Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุลยพงศ์ วงศ์แสวง-
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorอำไพ ลิ่ววัฒนะโชตินันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-03T08:40:14Z-
dc.date.available2012-03-03T08:40:14Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17364-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษากระบวนการลดความหนืดอย่างถาวรของน้ำมันพืชและน้ำมันจากสัตว์บางชนิดที่ผ่านกระบวนการแล้วโดยการฉายรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 โดยทำการศึกษา 6 ปัจจัยหลัก ปัจจัยที่ 1 คือ ชนิดของน้ำมัน ได้แก่ น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าวผ่านกรรมวิธี และน้ำมันหมู ปัจจัยที่ 2 คือ ตัวทำละลาย ระหว่าง Ethyl Alcohol และ Diesel ปัจจัยที่ 3 คือ สัดส่วนการผสม (น้ำมันตัวอย่าง:ตัวทำละลาย)ที่ 4:1 และ 3:2 ปัจจัยที่ 4 ปริมาณรังสีแกมมาที่ 30 และ 50 kGy ปัจจัยที่ 5 คือ การเติมอากาศและไม่เติมอากาศระหว่างการฉายรังสี ปัจจัยที่ 6 คือ อุณหภูมิระหว่างฉายรังสีที่ 40 และ 75 ๐C เมื่อทำการฉายรังสีแกมมาแล้วกรณีที่ตัวทำละลายไม่ใช่ Diesel จะทำการสกัดตัวทำละลายออกจากน้ำมันตัวอย่างโดยการกลั่นลำดับส่วนอย่างง่ายและวัดค่าความหนืดของน้ำมันตัวอย่าง/น้ำมันตัวอย่างผสมตามมาตรฐาน ASTM D445 ทำการวิเคราะห์ผลการลดค่าความหนืดจากการฉายรังสีและตรวจสอบคุณภาพและนัยสำคัญของผลการวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์ทางสถิติแบบ General Linear Model (GLM) ผลการวิจัยพบว่าการฉายรังสีแกมมาโดยทำการควบคุมปัจจัยทั้ง 6 มีผลต่อการลดความหนืดอย่างถาวรของน้ำมันตัวอย่างส่งผลให้ความหนืดหลังทำการฉายรังสีมีค่าลดลงอยู่ในช่วง 7.63 - 46.92 % โดยกลุ่มตัวอย่างมีเปอร์เซ็นต์ความหนืดลดลงมากที่สุดคือ น้ำมันมะพร้าวผสมกับ Ethyl Alcohol ที่สัดส่วน 3:2 ทำการฉายรังสีปริมาณ 30 kGy ที่อุณหภูมิ 75 ๐C มีการเติมอากาศระหว่างทำการฉาย และจากการวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่าที่ระดับความมั่นใจ 96.83 % มีนัยสำคัญจาก 2 ปัจจัยหลักคือ ปริมาณรังสีแกมมาและการเติมอากาศ และ 5 ปัจจัยร่วมคือ ชนิดของน้ำมันกับตัวทำละลาย ชนิดของน้ำมันกับสัดส่วนสารละลาย ชนิดของน้ำมันและปริมาณรังสี ตัวทำละลายกับสัดส่วนสารละลาย และสัดส่วนสารละลายกับปริมาณรังสีen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research work is to study a permanent viscosity reduction process of certain processed vegetable oils and lard using gamma ray from Cobalt-60. Six main factors were studied. The first were oil types, which were palm oil, coconut oil and lard. The second were solvent types, which were ethyl alcohol and diesel oil. The third were oil:solvent ratios of 4:1 and 3:2. The forth was gamma ray dose at 30 and 50 kGy. The fifth was adding or not adding air during irradiation. The sixth was temperature of 40 and 75 oC during irradiation. For the cases that the solvent was not diesel gasoline, the solvent was extracted by a simple fractional distillation technique. Subsequently, the samples were tested for the change in viscosity using ASTM D445 standard. Finally, the quality and significance of the data obtained were statistically analyzed using General Linear Model (GLM). Results indicate that gamma irradiation by controlling the six factors result in permanent viscosity reduction in the range of 7.63 - 46.92 %. Samples exhibiting the largest viscosity reduction were controlled the following way: coconut oil, ethyl alcohol, 3:2 ratio, 30 kGy dose, air bubbling during irradiation, temperature of 75oC. Statistical analysis revealed that at the 96.83 % confidence level, the following two factors contribute the most: gamma ray dose and adding/not adding air during irradiation. The following five factors also contribute, but to a lesser extent: oil types and solvent types, oil types and oil:solvent ratios, oil types and gamma ray dose, solvent types and oil:solvent ratios, and oil:solvent ratios and gamma ray dose.en
dc.format.extent4320663 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1423-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำมันพืชen
dc.subjectความหนืดen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.titleการลดความหนืดของน้ำมันพืชและน้ำมันจากสัตว์บางชนิดโดยการใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60en
dc.title.alternativeViscosity reduction for certain vegetable and animal oil using gamma ray from cobalt-60.en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1423-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
amphai_le.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.