Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี-
dc.contributor.authorไตรรัตน์ ชมภูธวัช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-03-09T14:15:41Z-
dc.date.available2012-03-09T14:15:41Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17524-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอความบอบบางเนื่องจากแผ่นดินไหว (seismic fragility) ของอาคาร ตัวอย่างในประเทศไทย ซึ่งเป็นอาคารเรียนสูง 8 ชั้น ความสูง 28 เมตร โครงสร้างเป็นโครงข้อแข็ง คอนกรีตเสริมเหล็ก (RC frame) มีลักษณะสม่ำเสมอในแนวดิ่งและค่อนข้าง สมมาตรในระนาบ ราบ โดยสร้างแบบจำลองของโครงสร้างที่จำลองพฤติกรรมการเสื่อมถอยของกำลังและสติฟเนส ของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงกระทำแบบวัฏจักร และวิเคราะห์หาค่าผลตอบสนอง ของโครงสร้างด้วยโปรแกรม OpenSees โดยวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองของโครงสร้างไม่เชิง เส้นด้วยวิธีพลศาสตร์แบบประวัติเวลา (nonlinear response history analysis, NL-RHA) จากนั้นทำการวิเคราะห์โครงสร้างแบบพลศาสตร์ส่วนเพิ่ม (incremental dynamic analysis, IDA) ภายใต้หลักการวิศวกรรมแผ่นดินไหวเชิงสมรรถนะของโครงสร้าง (performance-based earthquake engineering, PBEE) และนำผลการวิเคราะห์ที่ได้ไปสร้างเส้นโค้งความบอบบาง (fragility curve) โดยการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีความควรจะเป็นสูงสุด (maximum likelihood) เมื่อเปรียบเทียบผลที่ได้จากการวิเคราะห์ด้วยชุดคลื่นแผ่นดินไหวที่มีขนาดอยู่ระหว่าง 6.6–6.9 และมีระยะทางจากแหล่งกำเนิดถึงสถานีตรวจวัดมากกว่า 30 กิโลเมตร แต่ไม่เกิน 60 กิโลเมตร (Large-Magnitude-Large-distance, LMLR) กับชุดคลื่นแผ่นดินไหวที่มีขนาดในช่วง เดียวกัน แต่มีระยะทางจากแหล่งกำเนิดถึงสถานีตรวจวัด 15 ถึง 30 กิโลเมตร (Large- Magnitude-Small-distance, LMSR) พบว่าชุดคลื่นแผ่นดินไหว LMSR ทำให้โครงสร้างมีค่าการ ตอบสนอง, การกระจายตัวของผลตอบสนอง และความน่าจะเป็นที่จะทำให้โครงสร้างเกิดความ เสียหายหนักเกือบพังทลาย (collapse prevention) ที่ระดับความรุนแรงต่าง ๆ มากกว่าชุดคลื่น แผ่นดินไหว LMLR เมื่อสมมุติให้อาคารตั้งอยู่ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โอกาสที่จะทำให้อาคาร ตัวอย่างเริ่มเกิดการครากในคานเท่ากับ 9.82% ในช่วงเวลา 50 ปี ซึ่งเป็นอายุการใช้งานของ อาคารโดยปกติ, โอกาสที่จะทำให้อาคารตัวอย่างเริ่มเกิดการครากในเสาเท่ากับ 0.31% ในช่วง เวลา 50 ปี และโอกาสที่จะทำให้อาคารตัวอย่างการเกิดการพังทลายมีค่าเท่ากับ 0.027% ในช่วง เวลา 50 ปีen
dc.description.abstractalternativeThis research presents the seismic fragility of a case study of a reinforced concrete building in Thailand from incremental dynamic analysis (IDA) results within the Performance-Based Earthquake Engineering (PBEE) framework. A vertically regular and symmetrical-in-plan reinforced concrete building with 8 stories and height of 28 meters is considered in this study. The building model also considers cyclic deterioration behavior. The response of structure is obtained by using OpenSees program with nonlinear response history analysis (NL-RHA) method. The seismic fragility curve is created from the IDA results by using the maximum likelihood method for estimation of parameters. The results for two sets of ground motions: (1) Large-Magnitude-Large-distance (LMLR) and (2) Large-Magnitude- Small-distance (LMSR) are compared. Both sets have earthquake magnitudes ranging from 6.6 to 6.9. LMSR has distances ranging from 15-30 km whereas LMLR has distances ranging from 30-60 km. It is found that the response, the dispersion of responses, and the probability of exceeding collapse prevention limit state at various intensity levels of LMSR results are larger than those of LMLR. If this building is located Chiangmai City, the probability of first yield in beam is 9.82%, first yield in column is 0.31%, and collapse is 0.027% during the 50 years lifetime perioden
dc.format.extent5362374 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.962-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ไทยen
dc.subjectอาคาร -- การป้องกันen
dc.titleความบอบบางของอาคารตัวอย่างในประเทศไทยเนื่องจากแผ่นดินไหวen
dc.title.alternativeSeismic fragility of a case study building in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.962-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Trirat_Ch.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.