Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18336
Title: ผลของอุณหภูมิที่ใช้เตรียมดินเบาต่อประสิทธิภาพการดูดซับกลีเซอรีนในน้ำมันไบโอดีเซล
Other Titles: Effect of diatomite heat treatment on glycerine adsorption in biodiesel
Authors: แพรสุข วังศิลา
Advisors: สมใจ เพ็งปรีชา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ดินเบา
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
การดูดซับ
Diatomaceous earth
Biodiesel fuels
Adsorption
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการดูดซับของดินเบาด้วยความร้อนสำหรับใช้ในการทำไบโอดีเซลให้บริสุทธิ์ โดยดินเบาที่ถูกเผาทั้งหมดนำมาดูดซับกลีเซอรีนในน้ำมันไบโอดีเซลที่สังเคราะห์จากน้ำมันปาล์มโดยใช้เบสเป็นตัวเร่งปฎิกิริยา การดูดซับที่เหมาะสมที่สุดจะได้จากการแปรผันอัตราส่วนของตัวดูดซับต่อไบโอดีเซล เวลาสัมผัส และอุณหภูมิ โดยใช้ปริมาณดินเบาและดินเบาเผาที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ร้อยละ 2 โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที กลีเซอรีนในไบโอดีเซลจะถูกกำจัดออกอย่างมาก นอกจากนี้การกำจัดกลีเซอรีนถูกปรับปรุงได้โดยใช้ปริมาณดินเบาและดินเบาเผาที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ร้อยละ 1 โดยน้ำหนัก ในภาวะที่เมทานอลถูกกำจัดออกก่อนทำการดูดซับ เมื่อพิจารณาไอโซเทอมการดูดซับพบว่ากระบวนการนี้สอดคล้องกับรูปแบบของแลงเมียร์
Other Abstract: The purpose of this research is to improve the adsorption efficiency of diatomite by heat treatment for purifying biodiesel. All heat-treated diatomites were subjected to adsorb glycerine in biodiesel synthesized from palm oil via a base-catalyzed process. The optimal adsorption was obtained by varying ratio of adsorbent to biodiesel, contact time and temperature. By using 2% wt of diatomite and heat-treated diatomite at 800°C at 50°C for 30 minutes, the glycerine in biodiesel could be drastically removed. Furthermore, the removal of glycerine was improved by using 1% (w/w) of diatomite and heat-treated diatomite at 800°C on the condition that methanol had been removed before treatment. According to the adsorption isotherm, this process is fit to Langmuir model.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18336
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.422
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.422
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phraesuk_Wu.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.