Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1837
Title: จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของสัตยาจิต เรย์ : การศึกษาวิเคราะห์
Other Titles: Social imagination and narrative scheme in the films of Satyajit Ray : an analytical study
Authors: รัตนา จักกะพาก
จิรยุทธ์ สินธุพันธ์
Email: [email protected]
[email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง
Subjects: เรย์, สัตยาจิต
การวิเคราะห์เนื้อหา
ภาพยนตร์อินเดีย--ประวัติและวิจารณ์
การเล่าเรื่อง
Issue Date: 2545
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพยนตร์ซึ่งเป็นผลงานการกำกับโดยสัตยาจิต เรย์ ทางด้านโครงสร้างการเล่าเรื่อง รูปแบบของโครงเรื่อง และแบบจำลองคู่ตรงข้ามตามแนวโครงสร้างนิยม การวิเคราะห์เนื้อหาตามผังแสวงหาและสี่เหลี่ยมสัญญศาสตร์ รวมทั้งการศึกษาภาษาภาพยนตร์ด้านมุมกล้อง การจัดองค์ประกอบ การลำดับภาพ การใช้เสียงประกอบ และศึกษาระบบการเล่าเรื่องที่สัมพันธ์กับสื่อ ประเภทของเรื่องวัฒนธรรมและลักษณะเฉพาะตนของสัตยาจิต เรย์ ในฐานะผู้กำกับการแสดง ผลการวิจัยพบว่า โครงเรื่องมีลักษณะเป็นดราม่า (Drama) น้อย จนบางครั้งไม่สามารถเล่าเป็นเรื่องย่อได้ ใช้บทสนทนาและบทพูดบรรยายน้อยมาก ส่วนใหญ่ใช้การสื่อความหมายด้วยองค์ประกอบภาพ (Mise en scene) การลำดับภาพ เสียงประกอบและดนตรีเป็นสำคัญ มีความโดดเด่นมากในเรื่ององค์ประกอบภาพ ภาพที่นำเสนอจะเป็นการถ่ายทอดสื่อถึงอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดที่ตัวละครเผชิญอยู่ เรื่องราวที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับแคว้นแบงกอล และใช้ภาษาแบงกลี (เว้นเรื่อง Shantranj Ke Khilari) เท่านั้นที่เนื่อเรื่องเกิดในอุตระประเทศ และใช้ภาษาอูดู (Urdu) และนิยมดัดแปลงเนื้อเรื่องจากนวนิยายและเรื่องสั้น เนื้อหาอาจแบ่งได้ 4 กลุ่มใหญ่ คือ 1. การตั้งคำถามกับสังคมและวัฒนธรรมที่กำลังเปลี่ยนไป 2. การตั้งคำถามเกี่ยวกับเพศสภาพ (gender) บทบาทและความสัมพันธ์ของหญิงและชายในสังคมฮินดูที่กำลังจะเปลี่ยนแปลง 3. การตั้งคำถามเกี่ยวกับชีวิตในเมืองใหญ่เช่นกัลกัตตาของคนหลายกลุ่ม หลากวรรณะ โดยที่เนื้อหาแต่ละกลุ่มนั้นจะออกมาเป็นชุดในแต่ละช่วง ดังนี้ ช่วงทศวรรษ 1950 จะเน้นที่ความเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิม ช่วงทศวรรษ 1960 จะเน้นที่เรื่องเพศสภาพ ช่วงทศวรรษ 1970 จะเน้นที่เรื่องปัญหาและคุณค่าและจริยธรรมของมนุษย์ ช่วงทศวรรษ 1980 จะเน้นเรื่องอำนาจและการขบถต่ออำนาจ ภาพยนตร์ของสัตยาจิต เรย์ ที่เป็นขาวดำจะเด้นในการสื่อความมหาย และมีสุนทรียะทางด้านภาพยนตร์ทีเด่นกว่าภาพยนตร์สีในส่วนนี้
Other Abstract: The aims of this research are to analyse the films directed by Satyajit Ray in the narrative structure, the patterns of plot and the model of binary oppositions of structuralism; to analyse their contents based on the based on the quest model and the semiotic square; to study the film language regarding point of view, the mise en scene, the montage, the use of sound effect; and to studt the narrative system in relation to the media, the types of the story and the auteurship of Satyajit Ray. The results of the research finds that the plots lack dramatic aspects so much that sometimes they cannot be drawn out to be a synopsis. They also lack dialogues and narrative lines. The contents are mostly represented by mise en scene, montage, sound effect and music. The outstanding element is the mise en scene. The images presented represent the feelings and the emotions of the dramtic personal. The stories are mostly about Bengol region and the Bangali language is used (except "Shantranj Ke Khdari" which has Utrapradet as a setting and in which Urdu is spoken). The adaptation of novles and short stories are widely used. The stories can be categorised into 4 groups namely: 1. The questions about the changing society and culture. 2. the question about the gender, the role and the interrelation of opposite sexes in the Hindu society which are to be changed. 3. the question about the life in a big city Calcutta, where live people of many groups, many classes; and also about life and values in the big city which affect the human values. 4. the question about the central power of the government, of the Imperialism, and of Capitalism; the contents of each group can be sub-divided according to the era, namely: 4.1 the fifties: the change of society andn primitive culture is focused. 4.2 the sixties: the gender is focused. 4.3 the seventies: the problem of human values and morality is focused 4.4 the eighties: the power and its rebellion are focused. The black-and-white films of Satyajit Ray are outstanding inn communicating and have more cinematographic aesthetic than his coloured films.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1837
Type: Technical Report
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rattana(ray).pdf13.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.