Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18697
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ-
dc.contributor.authorชาญณรงค์ รุ่งเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-25T11:47:39Z-
dc.date.available2012-03-25T11:47:39Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18697-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานนี้วิจัย คือ เพื่อทำการศึกษาความสัมพันธ์ของเงื่อนไขการตัดจากการประยุกต์ใช้สารหล่อเย็น ที่มีผลต่อความสึกหรอของมีดกัดหัวบอล ความเรียบผิวชิ้นงาน และแรงตัด และศึกษาหาสภาวะการตัดที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการกัดเหล็กกล้าด้วยมีดกัดหัวบอลกับการใช้สารหล่อเย็นโดยการใช้วิธีการวิเคราะห์พื้นผิวผลตอบด้วยเทคนิคบ็อกซ์-เบห์นเคน และจากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลตอบความสึกหรอของมีดกัด, ความเรียบผิวชิ้นงาน, และแรงตัด สำหรับการตัดด้วยเงื่อนไขการตัดทั้ง 3 รูปแบบ คือ การตัดแบบเปียก, การตัดแบบแห้ง, และการใช้สเปรย์สารหล่อเย็น คือ อัตราการป้อนตัดมีอิทธิพลสูงสุด รองลงมาคือ ความลึกตัด และความเร็วตัด ตามลำดับ โดยการประยุกต์ใช้สารหล่อเย็นจะช่วยในการยืดอายุการใช้งานของมีดกัดให้ยาวนานขึ้น จากการใช้วิธีการพื้นผิวผลตอบในการสร้างสมการลำดับที่สองของความเรียบผิวชิ้นงาน, ความสึกหรอของมีดกัด, และสัดส่วนแรงตัด พบว่า สมการสามารถนำไปพยากรณ์ผลตอบดังกล่าวได้ด้วยระดับความเชื่อมั่น 95% และได้เงื่อนไขการตัดที่สภาวะเหมาะสมของเงื่อนไขการตัดแบบเปียก คือ ความเร็วตัด 189 เมตรต่อนาที, อัตราการป้อนตัด 0.02 มิลลิเมตรต่อรอบ, และความลึกตัด 0.3 มิลลิเมตร ด้วยระดับความพึงพอใจรวม 84.21% การตัดแบบแห้ง คือ ความเร็วตัด 151 เมตรต่อนาที, อัตราการป้อนตัด 0.05 มิลลิเมตรต่อรอบ, และความลึกตัด 0.3 มิลลิเมตร ด้วยระดับความพึงพอใจรวม 75.97% และการใช้สเปรย์สารหล่อเย็น คือ ความเร็วตัด 179 เมตรต่อนาที, อัตราการป้อนตัด 0.02 มิลลิเมตรต่อรอบ, และความลึกตัด 0.3 มิลลิเมตร ด้วยระดับความพึงพอใจรวม 85.65%en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the relations of the cutting conditions with the various cooling methods as wet, dry, and mist cutting that affect the tool wear, the surface roughness, and the cutting force, and to find the suitable cutting condition for the mild steel with the ball end milling by utilizing the response surface analysis with the Box-Behnken technique. The experimentally obtained results show that the feed rate is the most significant effect on the response, following by the depth of cut and the cutting speed, respectively. The applications of cutting fluids help to extend the life of cutting tool. A second-order model of the responses has been developed from the experimental data. The predicted model can be used to predict the response with 95% confident level. The response optimization of the cutting conditions are the cutting speed of 189 m/min, the feed rate of 0.02 mm/rev, and the depth of cut of 0.3 mm with the composite desirability of 84.21% for the wet cutting, the cutting speed of 151 m/min, the feed rate of 0.05 mm/rev, and the depth of cut of 0.3 mm with the composite desirability of 75.97% for the dry cutting, and the cutting speed of 179 m/min, the feed rate of 0.02 mm/rev, and the depth of cut 0.3 mm with the composite desirability of 85.65% for the mist cuttingen
dc.format.extent5759738 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.591-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเหล็กกล้าen
dc.subjectโลหะ--การตัดen
dc.titleผลของวิธีการใช้สารหล่อเย็นของกระบวนการตัดเหล็กกล้าโดยใช้ใบมีดกัดหัวบอลen
dc.title.alternativeEffects of cutting fluid applications on mild steel machining using ball end milling cutteren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.591-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Channarong_ru.pdf5.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.