Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19578
Title: | การจัดสมดุลสายการผลิตแบบหลายผลิตภัณฑ์ภายใต้เงื่อนไขเวลาไม่คงที่ในการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป |
Other Titles: | Production line balancing for multiple products with variable work element times in apparel manufacturing |
Authors: | นรินทร์ จึงจำเริญกิจ |
Advisors: | สมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | การจัดสมดุลสายการผลิต อุตสาหกรรมเสื้อผ้า Assembly-line balancing Clothing trade |
Issue Date: | 2553 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | แรงงานถือเป็นปัจจัยหลักในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม การวางแผนมอบหมายงานและการจัดสมดุลการผลิตจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้สามารถใช้แรงงานที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาแนวทางการจัดสมดุลการผลิต ในสายการประกอบเสื้อผ้าสำเร็จรูปภายใต้เงื่อนไขเวลาไม่คงที่ โดยนำคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้จัดสมดุล เทคนิคที่ใช้ในการทดลองจัดสมดุล ได้แก่ การจัดสมดุลการผลิตแบบหลายผลิตภัณฑ์ และมอบหมายงานโดยวิธีการปรับเรียบภาระงาน การจัดสมดุลการผลิตแบบหลายผลิตภัณฑ์และแบบผลิตภัณฑ์เดียว ด้วยวิธี COMSOAL จากการศึกษาพบว่า การจัดสมดุลการผลิตแบบหลายผลิตภัณฑ์ และมอบหมายงานโดยวิธีการปรับเรียบภาระงาน มีประสิทธิภาพการจัดสมดุลดีกว่าวิธีอื่นๆ และให้อัตราการผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 63.64% และใช้ในเวลาการจัดต่อครั้งน้อยลง 91.21% เมื่อเทียบกับวิธีการเดิม |
Other Abstract: | The labor is a main factor in garment apparel. Hence, the production planning and the line balancing are required to increase the production efficiency. This research presents the study of the line balancing in the garment apparel process under the variable work element times by using the computer program. The methods adopted to compare the efficiency of line balancing in the apparel factory are the heuristic multiple-product line balancing with workload leveling method, the COMSOAL single-product line balancing method, and the COMSOAL multiple-product line balancing method. It is found that the heuristic multiple-product line balancing with workload leveling method can increase the production rate about 63.64% and reduce the calculating time for line balancing about 91.21% as compared to the previous technique. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19578 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.119 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.119 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
narin_ju.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.