Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorณัฐภรณ์ นรพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-20T07:26:12Z-
dc.date.available2012-05-20T07:26:12Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19761-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบโมเดลประยุกต์และโมเดลบูรณาการการวัดความฉลาดทางจิตวิญญาณ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในบริบทสังคมไทย 2) สร้างเกณฑ์ปกติวิสัย (norms) ของความฉลาดทางจิตวิญญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในบริบทของสังคมไทย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,780 คน ปีการศึกษา 2553 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความฉลาดทางจิตวิญญาณที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามโมเดลประยุกต์และโมเดลบูรณาการ ซึ่งเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .926 และ .957 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง และคะแนนปกติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) โมเดลบูรณาการการวัดความฉลาดทางจิตวิญญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากกว่าโมเดลประยุกต์ โดยโมเดลบูรณาการมีค่า chi-square = 77.50, p-value = .527, df=79, GFI = 1.00, AGFI= .99, RMSEA = .000, RMR = .005 ในขณะที่โมเดลประยุกต์มีค่า chi-square = 97.70, p-value = .518, df = 99, GFI = 1.00, AGFI = .99, RMSEA = .000, RMR = .007 ตัวแปรในโมเดลบูรณาการสามารถอธิบายความแปรปรวนความฉลาดทางจิตวิญญาณได้ ร้อยละ 71-99 ซึ่งสูงกว่าโมเดลประยุกต์มีค่าเท่ากับร้อยละ 67-98 2) เกณฑ์ปกติวิสัยระดับชาติ (national norms) ของความฉลาดทางจิตวิญญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายตามโมเดลบูรณาการ มีคะแนนปกติ ที อยู่ในช่วง T17-T79 ส่วนคะแนนความฉลาดทางจิตวิญญาณสำหรับภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกมีคะแนนปกติ ที อยู่ในช่วง T21-T79 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีคะแนนปกติ ที อยู่ในช่วง T21-T74en
dc.description.abstractalternativeTo 1) comparative the goodness of fit of measurement models between modified and integrated model measuring spiritual intelligence of upper secondary school students in Thai contexts 2) provide criteria for national norms using the spiritual intelligence scale to measure spiritual intelligence of upper secondary school students in Thai contexts. The participants of this research were 1,780 upper secondary school students in academic years 2553. The research instruments are two types of questionnaires developed by the researcher, which are Modified and integrated model. Reliability of the Modified and integrated models are .926 and .957, respectively. The collected data were analyzed through second order confirmatory analysis and normalized T-Score. The research finding were as follows: 1) Spiritual intelligence measured by the integrated model was fit to the empirical data more than the modified model. The integrated model provided the chi-square = 77.50, p-value = .527, df=79, GFI=1.00, AGFI=.99, RMSEA=.000, RMR=.005 while the modified model provided chi-square=97.70, p-value=.518, df=99, GFI=1.00, AGFI=.99, RMSEA=.000, RMR=.007. The integrated model accounted in range 71-99 percent of variance more than the modified model that accounted 67-98 percent of variance. 2) The national norms of spiritual intelligence measured by the integrated model for upper secondary school students in Thai contexts are in range of T17-T79 whereas in region for central, North, South, East, West in the range of T21-T79 and North East in the range of T21-T74.en
dc.format.extent4292217 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเชาวน์-
dc.subjectความฉลาดทางจิตวิญญาณ-
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย-
dc.subjectIntellect-
dc.subjectSpiritual intelligence-
dc.subjectHigh school students-
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบโมเดลประยุกต์และโมเดลบูรณาการการวัดความฉลาดทางจิตวิญญาณ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในปริบทสังคมไทยen
dc.title.alternativeA comparative analysis between modified and integrated models measuring spiritual intelligence of upper secondary school students in Thai contextsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2113-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nattaporn_no.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.