Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพันธ์ สิทธิสุข-
dc.contributor.advisorสุพจน์ ศรีมหาโชตะ-
dc.contributor.authorสันติ ลิ้มอัมพรเพชร, 2517--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-16T06:13:08Z-
dc.date.available2006-09-16T06:13:08Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741771142-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2523-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractที่มาของงานวิจัย: เครื่องมือกดห้ามเลือดที่ประดิษฐ์ขึ้นในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จุฬา-เเคลมป์ เป็นเครื่องมือกดห้ามเลือดที่หลอดเลือดแดงบริเวณขาหนีบ(Femoral artery) ซึ่งจากการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่าเครื่องมือดังกล่าวมีประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนไม่แตกต่างจากการกดห้ามเลือดด้วยมือ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจว่าเครื่องมือนี้จะมีประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนแตกต่างจากเครื่องแองจิโอซีล (AngioSeal) ซึ่งเป็นเครื่องมือปิดรูรั่วของหลอดเลือดแดงที่นำเข้ามาจากต่างประเทศหรือไม่ วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นการศึกษาประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนของเครื่องมือกดห้ามเลือดจุฬา-แคลมป์ (ซึ่งเป็นเครื่องมือกดห้ามเลือดที่ประดิษฐ์ขึ้น) เทียบกับการห้ามเลือดด้วยเครื่องแองจิโอซีล วิธีการดำเนินการ: เป็นการศึกษาไปข้างหน้า เชิงสุ่มตัวอย่างทดลองให้การรักษาในทางคลินิก โดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนในการห้ามเลือดเส้นเลือดใหญ่ที่ขาหนีบ (femoral artery) ของเครื่องมือกดห้ามเลือดจุฬา-แคลมป์กับการห้ามเลือดด้วยวิธีใช้เครื่อง AngioSeal ประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนของการห้ามเลือดดูได้จาก อุบัติการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อนของเส้นเลือดแดงที่ขาหนีบ และระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลภายหลังการสวนเส้นเลือดหัวใจ ผลการศึกษา: พบว่าผู้ป่วยทั้งหมด 163 ราย เป็นกลุ่มที่ได้รับการห้ามเลือดโดยการใช้เครื่องมือจุฬา-แคลมป์ 81 ราย และเป็นกลุ่มที่ใช้เครื่องแองจิโอซีล 82 ราย ได้รับการสุ่มเลือกวิธีการห้ามเลือดแต่พบว่ามีข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยในกลุ่มที่ห้ามเลือดด้วยแองจิโอซีล มีน้ำหนัก ความดันโลหิตสูง จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการขยายหลอดเลือดแดงโคโรนารีด้วยบอลลูน และจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา Clopidogrel สูงกว่ากลุ่มที่ห้ามเลือดด้วยจุฬาแคลมป์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนทั้งสองวิธีพบภาวะแทรกซ้อนกลุ่มละ 9 ราย โดยเครื่องมือจุฬา-แคลมป์ และเครื่องแองจิโอซีล มีภาวะแทรกซ้อนไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Oozing 2.5% และ 4.5% p = 0.682, Swelling 2.5%และ 0% p = 0.245, Hematoma 3.7% และ 4.9% p = 1.00, Rebleed 2.5% และ 1.2% p = 0.62 ตามลำดับ) แต่อย่างไรก็ตามพบว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ใช้เครื่องมือแองจิโอซีลจะมีระยะเวลาเฉลี่ยการนอนในโรงพยาบาลหลังจากที่ทำการสวนหลอดเลือดหัวใจที่สั้นกว่ากลุ่มที่ใช้เครื่องมือจุฬา-แคลมป์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (16.20+8.84 ชั่วโมง และ 22.91+18.33 ชั่วโมง ตามลำดับ p = 0.01)en
dc.description.abstractalternativeBackground : Chula-clamp is a new vascular hemostatic device. A previous study showed no significant femoral vascular complication when compared with standard manual compression. No study has been compared between Chula-clamp and AngioSeal, an arterial puncture closing devices. Objectives : The aim of this study was to compare the efficacy and complication of Chula-Clamp versus AngioSeal after coronary angiography (CAG) or percutaneous coronary intervention (PCI). Methods : This is a prospective, randomized controlled clinical trial comparing effectiveness of Chula-clamp to AngioSeal for attaining femoral artery hemostasis after CAG or PCI. Effectiveness and complications were determined by femoral vascular complication and duration of hospital stay. Result : One hundred sixty three patients scheduled for CAG or PCI in King Chulalongkorn Memorial hospital were enrolled (81 patients for Chula-clamp group and 82 patients for AngioSeal group). The baseline characteristics were statistical difference in body weight, systolic blood pressure before off catheter, number of heparin user with perform PCI, time of intervention and number of clopidogrel user. There were no statistical difference in vascular complications at access site when compared Chula-clamp with AngioSeal group (oozing = 2.5% vs 4.5%, p = 0.682 ; swelling 2.5% vs 0.0%, p = 0.245 ; hematoma 3.7% vs 4.9%, p = 1.00 ; rebleeding 2.5% vs 1.2%, p = 0.62, respectively). However, the mean length of hospital stay was significant shorter in AngioSeal group (16.2 + 8.8 hrs versus 22.9 + 18.3 hrs; p = 0.01). Conclusion : Chula-clamp is as effective as AngioSeal in term of femoral artery hemostasis after CAG or PCI but is inferior to AngioSeal in term of length of hospital stay.en
dc.format.extent725918 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเวชภัณฑ์en
dc.subjectหลอดเลือดen
dc.titleการศึกษาประสิทธิภาพและผลแทรกซ้อนของเครื่องมือกดห้ามเลือดจุฬาแคลมป์ เปรียบเทียบกับเครื่องแองจิโอซีล เพื่อใช้ห้ามเลือดภายหลังการสวนเส้นเลือดหัวใจหรือการขยายเส้นเลือดหัวใจen
dc.title.alternativeEfficacy and complication of Chula-Clamp compared with angioseal to stop bleeding after coronary angiography or percutaneous coronary interventionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunti.pdf640.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.