Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2623
Title: การศึกษาการเจริญของตัวอ่อนสุกรภายหลังฝากชั่วคราวในท่อนำไข่กระต่ายและนำฝากในสุกรตัวรับ : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: Development of pig embryo in oviduct of rabbit after a short time incubation and retransfer to proper recipient
Authors: มงคล เตชะกำพุ
วิชัย ทันตศุภารักษ์
วันเพ็ญ ศรีอนันต์
จินดา สิงห์ลอ
Email: [email protected]
[email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์
Subjects: เอ็มบริโอ
สุกร--การถ่ายฝากตัวอ่อน
กระต่าย
ท่อนำไข่
Issue Date: 2536
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาการพัฒนาของตัวอ่อนสุกรที่เกลี้ยงชั่วคราวในท่อนำไข่กระต่าย เก็บตัวอ่อนสุกรระยะ 1-4 เซลล์ จำนวน 313 ตัวอ่อน จากสุกรสาวก่อนวัยเจริญพันธุ์ น้ำหนักประมาณ 90-100 กก. หลังทำการผสม 2.0-2.5 วัน นำตัวอ่อนสุกรย้ายไปฝากในท่อนำไข่กระต่ายที่ไม่รู่วงจรการเป็นสัด ด้วยการใช้ท่อโปลีเอสทีลีนสอดเข้าทางปากแตร โดยให้มีปริมาตรของน้ำยาแขวนลอยน้อยที่สุด วางตัวอ่อนที่ 2.5 ซม จากปากแตร และเลี้ยงตัวอ่อนได้เท่ากับ 52% (68/131), 60% (57/95), 58% (34/59) และ 0% (0/28) ตามลำดับ ในส่วนอัตราของตัวอ่อนปกติได้เท่ากับ 90% (61/68), 79% (45/57) และ 68% (23/34) ทำการฝากตัวอ่อนที่เลี้ยงไว้นาน 48 ชม และ 72 ชม ในสุกรตัวรับที่มีวงจรการเป็นสัดใกลี้เคียงกับตัวอ่อน ในสุกรจำนวน 5 ตัว สุกรกลับเป็นสัดจำนวน 4/5 ตัว และ 1/5 ไม่แสดงอาการเป็นสัดจนครบกำหนดคลอด ผลการตรวจด้วยวิธีการส่องดูในช่องท้อง ไม่พบมีการตั้งท้อง การศึกษานี้สามารถเลี้ยงตัวอ่อนได้นาน 96 ชม โดยตัวอ่อนเจริญปกติ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์เพื่อประเมินผลการเจริญของตัวอ่อนที่ผ่านการทดลองต่าง ๆ หรือนำไปขนส่งตัวอ่อน
Other Abstract: The objective of this experiment was to study the development of pig embryos after short time incubation in rabbit oviduct. The embryod at 1-4 cell stage (n= 313) were collected surgically at 2.0-2.5 days after mating from twenty 90-100 kg prepubertal gilts. The embroys were suspended in a small volume of B2 culture medium and were placed in oviducts, 2.5 cm from the fimbria of mature non cyclic does via a sterile 1.0 mm diameter polyethylene tube by midline laparotomy under general anesthesia. They were incubated 48, 72, 96 and 129 h. The embroys were flushed form rabbit ovident after cervical dislocation. Two hundred and seventy four embryos were incubated in ligated oviducts of matured non-cyclic does for 48, 72, 96 and 120 h. The recovery rates after incubation were 52%(68/131), 60%(57/95), 58%(34/59) and 0%(0/28) at 48, 72, 96 and 120 h respectively, after 72 and 96 h incubation. The rates of normal embryonic development were found to be 90% (61/68, 79% (45/57) and 68% (23/34) respectively. The recovered embyos were transferred to five synchronized recipient gilts. The pregnancy was confirmed in one recipient which recieved 6 embryos. This finding indicated that th epig embryos at early stage fertilization can further develop in oviduct of non-cyclic does at least for 96 h and they can develop to young after retransfering in a proper recipient. Thsi technique will be useful for evaluating the surviavl of manipulated embryos and for transporting the pig embryos.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2623
Type: Technical Report
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MongkolDe.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.