Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริอร เศรษฐมานิต-
dc.contributor.authorพิมพ์ปวีณ์ ปฏิวรโต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-06T01:24:36Z-
dc.date.available2012-12-06T01:24:36Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27324-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractในสภาวะแวดล้อมธุรกิจปัจจุบัน เป็นที่ตระหนักดีว่าการจัดหาเชิงกลยุทธ์เป็นหนึ่งในตัวขับเคลื่อนที่สำคัญในการสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันโดยการช่วยลดต้นทุนรวมและช่วยสร้างความแตกต่างให้กับธุรกิจ วัตถุประสงค์หลักของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการสร้างตัวแบบขั้นตอนการจัดหาเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการสำหรับโรงกลั่นน้ำมัน ในการศึกษานี้ตัวแบบขั้นตอนการจัดหาเชิงกลยุทธ์ได้รับการออกแบบจากการศึกษาทฤษฎีการจัดหาเชิงกลยุทธ์ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องรวมถึงแนวปฏิบัติอันดีเยี่ยม ตัวแบบขั้นตอนที่สร้างขึ้นได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและยืนยันว่าสามารถใช้ได้จริงกับธุรกิจโดยการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้องและท้ายสุดได้รับการประยุกต์ใช้กับข้อมูลจริงของโรงกลั่นน้ำมันที่เลือกศึกษา ตัวแบบขั้นตอนการจัดหาเชิงกลยุทธ์ที่ได้จากการศึกษาประกอบด้วย 9 ขั้นตอนหลักได้แก่ การวิเคราะห์การจัดหาแบ่งตามประเภทสินค้า การวางแผนการจัดหาเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลภายในและข้อมูลด้านซัพพลาย การวางกลยุทธ์การจัดหา การคัดกรองผู้ค้าและขอให้เสนอราคา การเจรจาต่อรองและการเลือกผู้ค้า การทำสัญญาและการบริหารสัญญา การจัดการความสัมพันธ์กับผู้ค้าและการทบทวนกลยุทธ์ ผลจากการประยุกต์ใช้ตัวแบบขั้นตอนการจัดหาเชิงกลยุทธ์พบว่า บริษัทจะสามารถลดต้นทุนรวมในการจัดหาสินค้าและบริการ Process Instrumentation บทสรุปของการศึกษานี้สามารถกล่าวได้ว่าการสร้างแนวทางและขั้นตอนการจัดหาเชิงกลยุทธ์ที่ชัดเจนทำให้บริษัทได้ประโยชน์ในการปรับปรุงวิธีการจัดหาอย่างเป็นระบบและการลดต้นทุนโดยรวมen
dc.description.abstractalternativeIn current business environment, it is realized that strategic sourcing is one of the key drivers to create competitive advantage by reducing overall cost and providing differentiation. The primary purpose of this paper is to develop an integrative strategic sourcing process model for oil refinery. In this study, the process model was designed based on strategic sourcing theories, related papers and best practices. Subsequently, procurement personnel were invited for interviews to verify and validate the process model. Lastly, agreed model was applied to real business case. The final model contains nine main processes: spend analysis, strategic sourcing planning, internal profile and supply analysis, strategy formulation, supplier screening and request for proposal, negotiation and contract award, contracting and contract administration, supplier relationship management and strategy review. Resulting from implementation, firm could reduce total cost of ownership for Process Instrumentation products and services sourcing. The final conclusion of this study is that establishment of strategic sourcing process could benefit firm in terms of systematic sourcing approach improvement and overall cost reduction.en
dc.format.extent3523538 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1970-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเลียม -- การจัดการen
dc.subjectโรงกลั่นน้ำมัน -- การจัดการen
dc.subjectการจัดการอุตสาหกรรมen
dc.subjectการจัดหาจัดซื้อทางอุตสาหกรรมen
dc.titleกระบวนการจัดซื้อแบบบูรณาการ : กรณีศึกษาโรงกลั่นน้ำมันen
dc.title.alternativeIntegrated sourcing process: case study of oil refineryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1970-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phimpawee_pa.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.