Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27847
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยพันธุ์ รักวิจัย | |
dc.contributor.author | เอกวิทย์ แต้ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-12-17T06:40:47Z | |
dc.date.available | 2012-12-17T06:40:47Z | |
dc.date.issued | 2529 | |
dc.identifier.isbn | 9745666432 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27847 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนล่าง มักจะประสบปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝั่งที่รุนแรง ทั้งนี้ เนื่องจากอ่าวไทยตอนล่างมีลักษณะเป็นทะเลเปิด (open sea) ติดต่อกับทะเลจีนใต้ จึงได้รับอิทธิพลรุนแรงของคลื่นที่เคลื่อนที่มาจากทะเลจีนใต้โดยตรง การเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝั่งดังกล่าวได้เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมามากกว่า 80 ปีตามหลักฐานที่ได้ค้นพบ การศึกษาวิทยานิพนธ์มุ่งที่จะศึกษา ลักษณะคลื่นกระแสน้ำและตะกอนบริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนล่าง ในเขตจังหวัดนราธิวาสระหว่างปากแม่น้ำโกลกถึงบริเวณเขาตันหยง ยาวประมาณ 40 กม. จากสถิติข้อมูลคลื่นวัดในทะเลจีนใต้ โดยเรือสังเกตการณ์ของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาของอังกฤษ ระหว่างปี 2492 – 2525 และแผนที่อุทกศาสตร์ซึ่งสำรวจโดยกรมอุทกศาสตร์แห่งราชนาวีไทย ระหว่างปี 2503 – 2506 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์คำนวณการหักเหของคลื่นเข้าสู่ฝั่ง จะได้รูปแบบการเคลื่อนที่ของคลื่นเข้าสู่ฝั่งจากเครื่อง Plotter ซึ่งทำให้คำนวณค่าสัมประสิทธิ์การหักเหของคลื่นลักษณะต่างๆ ของคลื่นบริเวณคลื่นแตกตัว พลังงานคลื่น การเคลื่อนที่ของกระแสน้ำและตะกอนชายฝั่งใต้ จากการศึกษาพบว่าคลื่นบริเวณใกล้ฝั่งมีความสูงคลื่นแตกตัวเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 2.0 ม. ความลึกตำแหน่งคลื่นแตกตัวเฉลี่ย 2.6 ม. และระยะคลื่นแตกตัวห่างจากฝั่งประมาณ 1 กม. ความเร็วกระแสน้ำห้องน้ำสูงสุดเฉลี่ยในรอบปีประมาณ 2.0 ม/วินาที กระแสน้ำตามแนวชายฝั่งที่เคลื่อนจากปากแม่น้ำโกลกไปยังเขาตันหลงเฉลี่ย 1.0 -2.0 ม/วินาที และกระแสน้ำที่เคลื่อนจากเขาตันหยงไปยังปากแม่น้ำโกลกประมาณ 0.8 – 1.5 ม/วินาที พลังงานคลื่นที่กระทำตั้งฉากกับชายฝั่งต่อหน่วยความยาวชายฝั่งประมาณ 120 -170 MW-hr/yr/m และพบว่ามีการสูญเสียตะกอนตลอดแนวชายฝั่ง 40 กม. ประมาณ 4.763 ล้าน-ม³/ปี หรือ ประมาณ 125 ม³/ปี/ม. ของชายฝั่ง ซึ่งแนวโน้มการเกิดการกัดเซาะถดถอยตลอดแนวชายฝั่งในระยะยาว | |
dc.description.abstractalternative | The coastline of the Lower Gulf of Thailand is generally experienced with the problem of shoreline changes. As an open sea connected to the South China Sea, the Lower Gulf of Thailand is rather rough by waves travelling directly from the South China Sea. According to the available information, the change of shoreline in this area is found to be very excessive and has occurred continuingly during the last 80 years. This study aims at the evaluation of the characteristics of wave, currents and longshore transport in the nearshore area of the lower Gulf of Thailand. The shoreline covered in this study is located in Changwat Narathiwat from the mouth of Golok River to Tan Yong Mountain which is about 40 km.long. The study employs the wave statistics observed during 1949 – 1982 in the South China Sea by Ship Observation of the Royal Meteorological office, England and the hydrographic map surveyed during 1960 – 1963 by the Hydrographic Department of the Royal Thai Navy. By a computer program, wave refraction analysis is performed and the refraction diagrams are obtained from the plotter. Then, the refraction coefficient, wave characteristics at breaking, wave energy as well as current and long shore transports are calculated. It is found that the wave in the nearshore area, by annual average, is about 2.0 m. high which breaks at an average depth of 2.6 m. and at about 1 km. from the shore. At breaking, the average of maximum bottom current velocity is about 2.0 m/sec. The average longshore current from the mouth of Golok River to Tan Yong Mountain varies between 1.0 -2.0 m/sec while it varies between 0.8 – 1.5 m/sec from Tan Yong Mountain to the mouth of Golok River. The wave energy in the perpendicular direction exerts on the shore about 120 -170 MW-hr/yr/m of shoreline. This 40 km-shoreline is found to lose sand sediment about 4.763 million-m³/yr or about 125 m³/yr/m of shoreline which indicates a trend of shoreline recession in the long-run. | |
dc.format.extent | 511524 bytes | |
dc.format.extent | 366382 bytes | |
dc.format.extent | 818960 bytes | |
dc.format.extent | 1573807 bytes | |
dc.format.extent | 696870 bytes | |
dc.format.extent | 812156 bytes | |
dc.format.extent | 667635 bytes | |
dc.format.extent | 370901 bytes | |
dc.format.extent | 1645553 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ลักษณะคลื่นกระแสน้ำและตะกอนบริเวณชายฝั่งในอ่าวไทยตอนล่าง | en |
dc.title.alternative | Characteristics of nearshore waves and longshore transport at lower gulf of Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ekavit_Ta_front.pdf | 499.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch1.pdf | 357.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch2.pdf | 799.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch3.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch4.pdf | 680.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch5.pdf | 793.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch6.pdf | 651.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_ch7.pdf | 362.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ekavit_Ta_back.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.