Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28285
Title: | การเปรียบเทียบอัตราการเกิดอาการอ่อนล้าในคนไข้กลุ่มอาการพาร์กินสันและในประชากรปกติ |
Other Titles: | The comparison of the occurring of fatigue symptoms in Parkinson patients and normal age match population |
Authors: | สุรัตน์ สิงห์มณีสกุลชัย |
Advisors: | รุ่งโรจน์ พิทยศิริ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | สมอง -- โรค โรคพาร์กินสัน -- ผู้ป่วย ความล้า |
Issue Date: | 2554 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ เพื่อหาอัตราการเกิดของอาการอ่อนล้า และปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการเกิด อาการอ่อนล้าในคนไข้พาร์กินสัน บทนำ อาการอ่อนล้าเป็นอาการที่ไม่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวในคนไข้พาร์กินสัน และ พบว่าส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้ โดยอาการอ่อนล้าเป็นอาการที่คนไข้พาร์กินสันรู้สึกว่า ไม่สามารถที่จะทำและไม่รู้สึกที่พึงพอใจในการที่จะทำกิจกรรมใดๆ วิธีการวิจัย ศึกษาในคนไข้พาร์กินสันที่มารับการรักษาแบบคนไข้นอก จำนวน 49 คน และกลุ่มควบคุมเป็นคนไข้มาตรวจสุขภาพโดยอายุไม่แตกต่างกันระหว่างสองกลุ่ม ทำการ ประเมินอาการอ่อนล้าโดยใช้แบบสอบถามอาการอ่อนล้าในโรคพาร์กินสัน 16 ข้อ ประเมิน ความรุนแรงของโรค ประเมินภาวะอาการซึมเศร้า และปัญหาการนอนในคนไข้ทั้งสองกลุ่ม โดยทั้งสองกลุ่มต้องไม่มีปัญหาด้านความจำและการรับรู้ ผลการวิจัย พบว่าคนไข้พาร์กินสันมีอาการอ่อนล้า 19 คน จาก 49 คน คิดเป็นร้อย ละ 38.8 ซึ่งมากกว่ากลุ่มควบคุม ที่พบเพียง 2 คน จาก 49 คน คิดเป็นร้อยละ 4.1 โดยมีความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองกลุ่ม (P<0.001) ไม่พบว่าภาวะอาการซึมเศร้า และปัญหาการนอนแตกต่างกันระหว่างสองกลุ่ม นอกจากนี้พบว่าคนไข้พาร์กินสันที่มีอาการ อ่อนล้ามีแนวโน้มจะมีอาการของโรครุนแรงกว่าคนไข้พาร์กินสันที่ไม่มีอาการอ่อนล้า สรุป อาการอ่อนล้าเป็นอีกอาการหนึ่งที่พบได้บ่อยในโรคพาร์กินสัน โดยคนไข้ทีอาการ ของโรคที่รุนแรงกว่ามีแนวโน้มที่จะเสี่ยงต่อการเกิดอาการอ่อนล้าได้มากขึ้น |
Other Abstract: | Objective: To determine the occurring of fatigue and factors associated with fatigue in patients with Parkinson's disease (PD) in Thai people. Introduction: Fatigue is a nonmotor symptom in Parkinson's disease (PD) and is recognized to significantly affect a quality of life. For patients with PD, fatigue is just as disabling and unpleasant a symptom as the motor symptoms. Methods: We examined 49 consecutive outpatients clinically diagnosed with PD and 49 non-PD age match people, excluding patients with cognitive impairment. Fatigue was evaluated using The Parkinson fatigue scale (The PFS-16 scale), a self-report questionnaire consisting of 16 statements describing the severity of fatigue symptoms. Patients were also evaluated using the Unified PD Rating Scale, Center for Epidemiologic Studies-Depression Scale (CES-D), The modified Parkinson's disease sleep scales (MPDSS). Results: More patients (19 of 49, 38.8%) than controls (2 of 49, 4.1%) fatigue were revealed (p < 0.001). Number of patients with a sleep problem and depression were not a significant between PD patients and controls. The mean scores on UPDRS patients with fatigue were higher than in patients without fatigue. Conclusions: Fatigue is a common symptom in patients with PD and a relatively independent symptom. In addition, PD patients who experience more severe motor symptoms are at risk for fatigue. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | อายุรศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28285 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1521 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1521 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
surat_si.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.