Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนีญา อุทัยสุข-
dc.contributor.authorกีฏะ เพิ่มพูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-03-03T09:28:42Z-
dc.date.available2013-03-03T09:28:42Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29218-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่โดยประยุกต์ใช้กิจกรรมดนตรีสำหรับเด็กตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ และศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะการบรรเลงรายบุคคลและการบรรเลงเป็นกลุ่มรวมทั้งความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน ระดับประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม จำนวน 4 ห้อง (148 คน) โดยสุ่มให้มีกลุ่มปกติสองห้อง และกลุ่มออร์ฟ สองห้องด้วยวิธีจับฉลาก นักเรียนในกลุ่มปกติเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามวิถีไทย ส่วนนักเรียนในกลุ่มออร์ฟเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามวิถีไทยที่มีการประยุกต์ใช้แนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ มีการประเมินทักษะการบรรเลงรายบุคคลและการบรรเลงเป็นกลุ่มในสัปดาห์ที่ 4, 9, และ 14 ประเมินความพึงพอใจ และทำบันทึกหลังเรียน บันทึกหลังสอน ทุกครั้งที่มีการจัดการเรียนการสอน (10 ครั้ง) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามวิถีไทยและแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามวิถีไทยที่มีการประยุกต์ใช้แนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 ท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.328 จากระดับ 1-5 (M = 4.328, SD = 0.235) 2. นักเรียนกลุ่มออร์ฟมีคะแนนเฉลี่ยทักษะการบรรเลงรายบุคคล (M = 2.599, SD = 0.478) สูงกว่านักเรียนกลุ่มปกติซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย (M = 2.565, SD = 0.612) และนักเรียนกลุ่มออร์ฟมีคะแนนเฉลี่ยทักษะการบรรเลงเป็นกลุ่ม (M = 2.328, SD = 0.419) สูงกว่านักเรียนกลุ่มปกติซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย (M = 2.237, SD = 0.631) 3. นักเรียนกลุ่มออร์ฟมีคะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนการสอน (M = 7.916, SD = 0.321) สูงกว่านักเรียนกลุ่มปกติซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย (M = 7.658, SD = 0.281)en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to develop the ranad ek and gong wong yai playing lesson plans and (2) to investigate individual and ensemble playing skills achievement and satisfactory of students. The participants were four classes of second grade students from Chulalongkorn University Demonstration Elementary School (N=148). Two classes were randomly assigned as control group and another two classes as Carl Orff’s approach implementation group. The students’ individual and ensemble playing skills were evaluated at week four, nine, and 14. The student satisfaction survey were also collected at the end of every class. Reflection notes from teachers and students were gathered at the end of every class (Ten times). Descriptive Statistic report were as followed. 1. The lesson plans of both traditional implementation and Carl Orff’s approach implementation received 4.328 out of 5 in lekert scale score (M = 4.328, SD = 0.235), for overall quality evaluation from 9 experts. 2. The average individual playing skill score of students in experimental group (M = 2.599, SD = 0.478) was higher than those of the control group (M = 2.565, SD = 0.612). Similarly, the average ensemble playing skill score of students in experimental group (M = 2.328, SD = 0.419) was higher than those of the control group (M = 2.237, SD = 0.631). 3. The average of satisfaction rate of student in experimental group (M = 7.916, SD = 0.321) was higher than those of the control group (M = 7.658, SD = 0.281).en
dc.format.extent8921147 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1601-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectดนตรี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectกิจกรรมดนตรีen
dc.subjectระนาดเอกen
dc.subjectฆ้องวงen
dc.titleผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ ต่อทักษะการบรรเลงรายบุคคลและการบรรเลงเป็นกลุ่มของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2en
dc.title.alternativeThe effects of implementing Ranad Ek and Gong Wong Yai lesson plans based on Carl Orff’s approach on individual and ensemble playing skills of second grade studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineดนตรีศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1601-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
geeta_pu.pdf8.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.