Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุจริต คูณธนกุลวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันพาณิชยนาวี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันการขนส่ง-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-05-10T03:51:26Z-
dc.date.available2013-05-10T03:51:26Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30882-
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยร่วมเกี่ยวกับโครงการขุดคอคอดกระซึ่งประกอบด้วยด้านพาณิชยนาวี วิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม รายงานวิจัยเล่มนี้เป็นการรวบรวมผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโครงการขุดคอคอดกระที่มีมาและสรุปประเด็นที่ควรพิจารณาเพิ่มเติม การศึกษาเริ่มจากการสรุปความเป็นมาและผลการศึกษาหลักตั้งแต่ปี พ.ศ. 2336 จนถึงปีปัจจุบัน ผลการศึกษาหลักที่ยึดถืออ้างอิงกันมา โดยตลอดเป็นการศึกษาของ TAMS ในปี พ.ศ. 2515 จึงมีการสรุปสาระสำคัญของการศึกษาดังกล่าวไว้ เนื่องจากหลังปี พ.ศ. 2515 ประเทศไทยได้มีโครงการพัฒนาท่าเทียบเรือน้ำลึกขึ้นอย่างน้อยสองแห่งคือที่แหลมฉบังและมาบตาพุด โครงการจึงได้สรุปสาระสำคัญของการพัฒนาและผลกระทบที่เกิดขึ้นสภาพทางกายภาพโดยสังเขป นอกจากนี้ก็ยังมีการศึกษาด้านท่าเรือ ปัญหาชายฝั่ง การศึกษาด้านวิศวกรรมชายฝั่งเพิ่มเติม โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งของประเทศอื่นเปรียบเทีบบ ประเด็นที่เสนอให้พิจารณาจากการรวบรวมผลการศึกษานี้ ได้เสนอแนวการขุด รูปแบบการพัฒนา หน้าตัดคลอง วิธีการก่อสร้างค่าก่อสร้างและระยะเวลาก่อสร้าง การบำรุงรักษา นอกจากนี้ยังได้เสนอนะให้มีการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นด้านพาณิชยนาวี ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อให้สามารถสรุปเรื่อง ความเป็นไปได้ของโครงการ และหาบทบาทที่เหมาะสมของประเทศไทยต่อโครงการดังกล่าวให้ชัดเจน-
dc.description.abstractalternativeThis study is a part of group study on Kra Project, comprising of merchant marine, engineering and environmental aspects. This report aimed to summarize the studies related with the Kra Project from the past and recommend the issues needed for further study. The review of previous studies started from the year 1793 up to present, including the most popular reference used, i.e., TAMS (1972). The summarize of TAMS study was then included in the report. However, after the year 1972, Thailand had developed the Deep water port projects, i.e., Laemchabang and Maptaphut Ports. The study then summarized the developments and their impacts present physica conditions in brief. Besides, the additional studies on port development, coastal issues and coastal engineering studies with foreign similar coastal coastal develo0pment projects were also included. The main critieria of canal alignment, development scheme, canal section, construction methods, construction cost and time were proposed. Furthermore, the further more detailed studies on maritime, engineering, evnironment, and economics were recommended in order to be able to conclude the feasibility of the project and decide on the appropriate role of the country towards the development of Kra Project.-
dc.description.sponsorshipเงินอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.format.extent5920841 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคลอง -- ไทยen
dc.subjectพาณิชยนาวี -- ไทยen
dc.subjectการศึกษาความเป็นไปได้en
dc.subjectคลองคอดกระ (ไทย)en
dc.subjectคลองคอดกระ (ไทย) -- แง่สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectคลองคอดกระ (ไทย) -- แง่เศรษฐกิจen
dc.subjectคลองคอดกระ (ไทย) -- การออกแบบและการสร้างen
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการพาณิชย์และด้านกายภาพ ของการขุดคอคอดกระ ส่วนที่ 1 : ส่วนการศึกษาด้านกายภาพ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeThe feasibility study on the Kra Canal : physical aspecten
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Merch - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sucharit_ko_2542.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.