Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31249
Title: การสื่อสารเพื่อสร้างความสามัคคีของชุมชนผ่านการทำงานบนเครือข่ายการสื่อสารและสื่อพิธีกรรมบุญจุลกฐิน
Other Titles: Enhancing community solidarity through communication networking and performing ‘Junlakathin’ local ritual
Authors: ปพิชญา วรสารพิสุทธิ์
Advisors: อวยพร พานิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: การสื่อสารในการพัฒนาชุมชน
การสื่อสารทางคติชาวบ้าน
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบเครือข่ายและหน้าที่ของเครือข่ายการสื่อสารช่วงอดีต ช่วงเกิดแรงปะทะจากภายนอกสู่ชุมชนและช่วงโครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุขเข้าไปทำกิจกรรมในชุมชนเทพมงคลและปัจจัยที่เอื้อ ศึกษาสถานภาพและบทบาทหน้าที่ของสื่อพิธีกรรมบุญจุลกฐินที่มีต่อชุมชน ศึกษาการทำหน้าที่ของเครือข่ายการสื่อสารเพื่อสร้างความสามัคคีต่อชุมชนผ่านกิจกรรมพิธีกรรมบุญจุลกฐิน โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 40 คน ผลการวิจัยพบว่า เครือข่ายหลัก ได้แก่ กลุ่มเครือข่ายวัดเทพมงคล ซึ่งพระครูมงคลวรวรวัฒน์เป็นแกนนำพระสงฆ์ และกลุ่มผู้สูงอายุมีบทบาทหน้าที่สำคัญในการรักษาความเป็นกลุ่มเครือข่าย ทำหน้าที่แก้ปัญหาชุมชน สร้างความสามัคคี และปัจจัยภายในคือ ผู้นำชุมชน ปัจจัยภายนอก คือ นักวิชาการ ผู้ประสานงานวิจัยโครงการ(สพส.) และแรงผลักดันจากภาครัฐ สถานภาพสื่อพิธีกรรมจุลกฐิน เคยรุ่งเรืองในอดีต และกำลังสูญหายในปัจจุบัน มีบทบาทหน้าที่หลากหลาย เช่น สร้างความสามัคคี แก้ปัญหาชุมชนเครือข่ายการสื่อสารทำหน้าที่สร้างความสามัคคีผ่านกิจกรรมจุลกฐิน ที่มีการออกแบบกิจกรรมจากฐานความรู้แบบ Action-Reflection ที่ใช้รูปแบบการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของกองคาราวานกิจกรรม
Other Abstract: The objectives of this research are : 1)to compare analysis the communication networking and its function for 3 periods: primitive, community effect, and The research project of folk media for well being, and factors influences. 2) to study Junlkathin local ritual status and its function base on communication networking process.3) to study the relation of communication networking function for solidarity and empowerment work on Junlakathin local ritual. This study is a qualitative research which has a documentary analysis, In-depth interview method, and non-participant observation for 40 key informants. The findings are as the follow : There is main network group is Wat Thepmongkol network that the abbot is local leader and elder network group is principle role to maintain and solve problems all group function in community, at the same times to create community solidarity for 3 periods. The factors are leader community, cultural capital, and outside effect. Junlakathin local ritual status is to be enlighten in the past, getting down in modernization era, and to reproduce when folk media for well being project coming to work on folk media activities through the concept of research base on action of all processes. The activities plan to work on participatory approach and motivate local people to participate all process.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตรพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31249
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1019
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.1019
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapitchaya_Wo.pdf24.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.