Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแล ดิลกวิทยรัตน์-
dc.contributor.authorลัดดา ศุทธิไวทูรย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-07-22T07:53:57Z-
dc.date.available2013-07-22T07:53:57Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33301-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractทุนนิยมไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มบริวารของทุนนิยมตะวันตกแม้ไม่ได้ตกเป็นอาณานิคมก็ตาม หลังเปิดเสรีการค้า สังคมไทยถูกครอบงำจากทุนนิยมการค้า โดยเริ่มจากการเป็นแหล่งจำหน่ายวัตถุดิบและตลาดรับซื้อสินค้าสำเร็จรูปจากตะวันตก ต่อมาจึงพัฒนาเป็นการผลิตสินค้าทดแทนการนำเข้า กระบวนการพัฒนาดังกล่าวอย่างน้อยก็ในระยะแรก ได้ก่อให้เกิดความจำเป็นต้องมีผู้รู้ทั้งภาษาต่างประเทศและการดำเนินกิจกรรมการค้า เริ่มที่รัชกาลที่ 4 เห็นความสำคัญของภาษาต่างประเทศ จึงเริ่มจ้างครูฝรั่งเข้ามาสอนให้ลูกหลานชนชั้นสูงในสังคมไทย ในขณะที่กลุ่มมิชชันนารีได้ทำการสอนให้แก่เด็กกำพร้าและยากจน ตลอดจนลูกพ่อค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวจีน ต่อมารัฐได้พัฒนาระบบการศึกษาและเปิดหลักสูตรอาชีวศึกษาให้แก่สามัญชน โดยเริ่มจากสาขาพาณิชยการ และเพิ่มสาขาอุตสาหกรรม ช่างเทคนิคจนถึงการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ศึกษาพัฒนาการของกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือสร้างบุคลากรไว้รองรับการเติบโตของรูปแบบการดำเนินธุรกิจ หรือการสะสมทุนว่ามีความสอดคล้องหรือไม่เพียงใด เริ่มตั้งแต่ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงของทุนนิยมการค้าจนถึงประมาณทศวรรษหลังปี ค.ศ. 1960 อันเป็นช่วงทุนนิยมในรูปแบบดังกล่าว ถูกทดแทนด้วยทุนนิยมอุตสาหกรรม ผลการศึกษาพบว่าหลังเปิดเสรีการค้า ช่วง พ.ศ. 2398 นั้นไม่พบหลักสูตรอาชีวศึกษา เหตุเพราะทุนอาจต้องการเพียงแรงงานที่มีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการติดต่อค้าขาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐได้ก่อตั้งระบบการศึกษาในโรงเรียนขึ้นเพื่อสร้างแรงงานไว้รองรับระบบรัฐ โดยผลักภาระแก่ทุนนิยมการค้าให้เป็นผู้ฝึกฝนแรงงานตามความต้องการของทุนเอง หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐประกาศใช้แผนการศึกษาของชาติ โดยมีจุดประสงค์ให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความสามารถ สติปัญญาและทุนทรัพย์ ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม การศึกษาถูกทำให้รองรับทุนนิยมของรัฐด้วยนโยบายชาตินิยม และลดบทบาทของทุนนิยมตะวันตกลง พ.ศ. 2503 ทุนนิยมตะวันตกเริ่มกลับเข้ามาภายหลังการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและธนาคารโลก หลักสูตรอาชีวศึกษาสาขาพาณิชยกรรม สามารถรองรับการเติบโตของทุนได้ในระดับหนึ่ง จนกระทั่งทุนเปลี่ยนเป็นทุนนิยมอุตสาหกรรมในที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeAfter the opening of free trade, Thailand was shaped step by step by the mercantile capitalist development. These developments at least in the beginning created the needs for personnels who need to know foreign languages and trade. King Rama 4 recognized this importance and hired western teachers to teach of royal familly children, whilst missionaries taught the orphan and the poor as well as children of Chinese traders. Later the government had developed the educational system for all common citizens, starting from commercial, technical skill and finally raised up to general educated. at as of today university level at as of today. The purpose of this thesis is to emphasize the political economy approach to investigate whether the development of educational process as a tool to boost capital growth and accumulation are responding to its need. Starting from the second half of the nineteen century which was the time of the mercantilist until the decade after 1960 of when industrial development began to take place. The study revealed that after opened for free trade in year 1855 no commercial curriculum was found this might be because traders just wanted personnel who had foreign language ability. In King Rama 5 era formal education was developed to respond to the need for civil servants, and passing burden to educate man power for trade to the traders themselves. After the 1932 revolution the People’s Party declared the national educational plan to provide all citizens to receive education according to their ability and economic factors. In Piboonsongkram’s era education was made to serve national capitalism in order to reduce influence of western capitalist. In 1960 the western capitalist returned after Thailand adopted the economic development plan from the World Bank. The commercial curriculum was aimed to support the growth and accumulation of capital as being witnessed at present to some certain extent until the industrial capitalist prevailed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.92-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทุนนิยม -- ไทยen_US
dc.subjectการศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectการศึกษาทางอาชีพ -- ไทยen_US
dc.subjectโรงเรียนอาชีวศึกษาen_US
dc.subjectCapitalism -- Thailanden_US
dc.subjectEducation -- Thailanden_US
dc.subjectVocational education -- Thailanden_US
dc.titleกระบวนการผลิตบุคลากรเพื่อรองรับการเติบโตของทุนนิยมการค้า โดยผ่านพัฒนาการของระบบโรงเรียนพาณิชย์ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe production of personnels to facilitate mercantile capitalist accumulation through development of commercial schools in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.92-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ladda_su.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.