Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35760
Title: อิทธิพลของสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ที่มีต่อชุมชนและบริเวณพื้นที่โดยรอบ
Other Titles: Influences of Bangkok Bus Terminal (Chatuchak) on communities and surrounding areas
Authors: สมบัติ พรหมสวรรค์
Advisors: พนิต ภู่จินดา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: สถานีรถประจำทาง -- ไทย -- กรุงเทพฯ
สถานีรถประจำทาง -- แง่เศรษฐกิจ
สถานีรถประจำทาง -- แง่สังคม
สถานีรถประจำทาง -- แง่สังคมวิทยา
คุณภาพชีวิต
ผังเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ
ผังเมือง -- แง่เศรษฐกิจ
ผังเมือง -- แง่สังคมวิทยา
จตุจักร
Bus terminals -- Thailand -- Bangkok
Bus terminals -- Economic aspects
Bus terminals -- Social aspects
Bus terminals -- Sociological aspects
Quality of life
City planning -- Thailand -- Bangkok
City planning -- Economic aspects
City planning -- Sociological aspects
Chatuchak
Issue Date: 2554
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาอิทธิพลของสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ที่มีต่อชุมชนและพื้นที่บริเวณโดยรอบ คำถามงานวิจัยคือสถานีขนส่งผู้โดยสาร (จตุจักร) ส่งผลกระทบต่อสภาพทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและบริเวณโดยรอบอย่างไร จากการศึกษาพบว่าในภาพรวมการมีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) นั้นได้สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจในระดับครัวเรือนให้แก่คนในชุมชนในด้านของปัจจัยสี่ หลักประกันความมั่นคงของรายได้ในอนาคต ที่ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามมา เช่นการมีปัจจัยสี่ที่พร้อม และเพียงพอต่อสมาชิกในครัวเรือน ชีวิตความเป็นอยู่ในด้านความพึงพอใจกับสภาพแวดล้อมชุมชน เป็นต้น โดยจากการวิจัยนี้พบว่าส่วนใหญ่คนในชุมชนเดิมจะได้รับผลประโยชน์จากมีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ทางด้านเศรษฐกิจ เช่น แหล่งงาน การเดินทางไปต่างจังหวัดที่สะดวก และ รายได้ที่เพิ่มมากขึ้นของคนในชุมชนเดิมที่ประกอบอาชีพด้านค้าขาย การทำหอพัก บ้านพัก และอพาร์ทเมนต์ ส่วนคนในชุมชนที่เข้ามาใหม่หลังมีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ส่วนใหญ่ได้รับผลประโยชน์ในเรื่องของการอยู่อาศัยใกล้แหล่งงาน ประหยัดค่าเดินทาง โดยบางคนที่เป็นผู้เช่าต้องจ่ายค่าเช่าที่อยู่อาศัยให้กับเจ้าของอาคาร หรือเจ้าของห้องเช่า ซึ่งส่วนใหญ่เจ้าของอาคารนั้นจะเป็นคนในชุมชนเดิม ส่วนผู้อาศัยใหม่ที่ไม่ใช่เป็นผู้เช่า แต่มีกรรมสิทธิ์อาคารที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง จะมีค่าเช่าที่ดินเพียงน้อยนิดในแต่ละเดือนให้กับกรมธนารักษ์ ซึ่งส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการครองชีพน้อยลง
Other Abstract: This research study about influence that Bangkok bus terminal (Chatuchak) has on its surrounding communities. The question is "How the Bangkok bus terminal (Chatuchak) influences on the economic stability and quality of life of people in surrounding areas? Results of studying show that Bangkok bus terminal (Chatuchak) has effect on the economic stability of the tenant mainly about the four requisites and guarantee the stability of the future income of the tenant and these factor leads the tenant's quality of life to be better and has good result about contentment on community's environment. This research also found the rewards that original tenants given from Bangkok bus terminal are job source, convenience of traveling and increasing income from their business such as trading stores, rental houses/dormitories or apartments meanwhile the new tenants has given the benefit about having a residences around their workplace in reasonable rental rate from the treasury department leads to saving their cost of living.
Description: วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Degree Name: การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การวางแผนภาคและเมือง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35760
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.616
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.616
Type: Thesis
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sombut_ph.pdf7.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.